ท่าเทียบเรือ ร่องน้ำปากน้ำชุมพร (Estuary Chumporn Port)
ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.81
1. เรือ ต. 81
2. ตำบลที่อ่าวชุมพร จ. ชุมพร แผนที่ที่เกี่ยวข้องแผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 255 ( อศ ) แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 225 ( อศ ) ลักษณะพื้นท้องทะเลโคลน ลักษณะน้ำ / ลม / มาตราน้ำ / ข้างขึ้น - แรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำ 3.5 เมตร ตรงกับวันขึ้น 7 ค่ำ เดือน 7 ทะเลมีคลื่น เล็กน้อยเรียบ ลมสงบ
3. ภาพแผนที่แสดงตำบลที่ ท่าเรือ ท่าเรือส่งเสริม ปากน้ำชุมพร
4. ภาพถ่ายดาวเทียม แสดงตำบลที่ท่าเรือ ท่าเรือส่งเสริม ปากน้ำชุมพร
5. แผนที่ 225 อ่าวชุมพร ร่องน้ำปากน้ำ ชุมพร เกาะมัต โพน ปากน้ำชุมพรอยู่ทางด้านใต้ ของอ่าวชุมพร แผนที่ 225 อ่าวชุมพร
6. แผนที่แสดงข้อมูลร่องน้ำ ทุ่นไฟปากร่อง FI.3s7.2M หลักนำ A หลักนำ B C-230 กระโจมไฟ เกาะมัตโพน L FI.WR.7s47m1 6,8M ท่าเรือส่งเสริม
7. ภาพถ่ายดาวเทียมปากน้ำชุมพร ท่าเรือ ส่งเสริม กระโจมไฟ เกาะมัตโพน L FI.WR.7s47m1 6,8M C-230 แนวเขื่อนกัน คลื่น อ่าว ชุมพร
8. ทุ่นไฟปากร่อง FI.3s7.2M
9. กระโจมไฟ เกาะมัตโพน L FI.WR.7s47m1 6,8M แนวเขื่อนกัน คลื่นฝั่งซ้าย แนวเขื่อนกัน คลื่นฝั่งขวา เข็มเข้าร่อง น้ำ 230 ร่องน้ำกว้าง 180 หลา
10. แนวเขื่อนกันคลื่นและไฟปลายเขื่อนซ้ายแนวเขื่อนกันคลื่นและไฟปลายเขื่อนขวา
11. ไฟกำกับร่องน้ำฝั่งซ้ายหลักนำ การนำเรือเข้าร่อง น้ำชุมพร การนำเรือเข้าร่องน้ำชุมพร ใช้เข็ม 230 โดยมี หลักนำช่วยในการนำเรือ ระยะทางประมาณ 1800 หลาจากทุ่นไฟปากร่อง ร่องน้ำกว้าง 140 หลา
12. เมื่อเปลี่ยนเข็มมาทางซ้ายจะมองเห็นท่าเรือมีหลังคาสีส้ม ทางกราบซ้ายน้ำจะตื้นกว่ากราบขวา ควรนำเรือให้อยู่บริเวณ กึ่งกลางร่อง ท่าเรือ ลักษณะท่าเรือทาง กราบซ้าย ลักษณะร่องน้ำทาง กราบขวา
13. ลักษณะท่าเทียบเรือ ท่าเรือส่งเสริมมีความสูง ประมาณ 4 เมตร ท่าเรือเป็น คอนกรีต ไม่มียางกันกระแทก มีเฉพาะเสาต้นมะพร้าว ท่าเรือ ลักษณะรูปตัว T ขนาดโดยประมาณ กว้าง 4 เมตร ยาว 25 เมตร ต้นมะพร้าวสำหรับกัน กระแทก
14. ลักษณะ ท่าเรือ
15. การนำเรือเข้าเทียบ / ออกจากเทียบ เมื่อถึงบริเวณทุ่นไฟปากร่อง นำเรือเข้าปากน้ำ ชุมพร ร่องน้ำกว้างประมาณ 140 หลา โดยมีหลักนำ ในการนำเรือเข้าร่องน้ำ จำนวน 1 คู่ เข็มหลักในการนำ เรือเข้าร่องน้ำ คือ เข็ม 230 ( เข็มออกคือ 050 ) ระยะทางประมาณ 1800 หลาจากทุ่นไฟปากร่อง แล้ว นำเรือเลี้ยวตามโค้งซ้าย ระยะทางประมาณ 600 หลา เพื่อเข้าไปท่าเรือส่งเสริม โดยให้ระมัดระวังทางด้าน กราบซ้ายซึ่งมีระดับน้ำตื้น สำหรับตำบลที่ในการเทียบ เรือ เรือ ตกฝ. ควรนำเรือเข้าในช่วงเวลาน้ำขึ้นสูงสุด และควรระมัดระวังเรือประมงขนาดเล็ก ที่จอดในบริเวณ ใกล้เคียง กระแสน้ำขึ้น - ลง ค่อนข้างแรง
16. ลักษณะการเทียบเรือ ควรเข้าเทียบกราบ ขวา หันหัวเรือออก ปากร่อง เพราะด้าน ในร่องน้ำจะลึก แต่ ถ้าเทียบกราบซ้าย ควรเทียบให้ท้ายเรือ ห่างจากเบรกกันคลื่น ทางด้านท้ายมาก ที่สุด เนื่องจาก บริเวณนั้นน้ำ ค่อนข้างตื้น
17. ที่หมายเวลากลางคืน มีกระโจมไฟ เกาะมัตโพน (L FI.WR.7s47m16,8M) ทุ่นไฟ ปากร่อง 1 ทุ่น (FI.3s7.2M) มีไฟกำกับร่องน้ำที่ปลายเบรก และมีหลักนำ 1 คู่ (A,B)
18. ข้อควรระมัดระวัง ก่อนที่จะกลับลำเข้าเทียบท่าให้ระมัดระวังเรือประมง ขนาดเล็กและใหญ่ที่สัญจรในร่องน้ำ ลักษณะน้ำขึ้น - น้ำลง ในร่องน้ำข่อนข้างแรง ในขณะนำเรือต้องใช้ความระมัดระวัง เป็นพิเศษ ในการเข้าเทียบท่าเรือควรเข้าเทียบในช่วงเวลา น้ำขึ้นสูงสุด และควรนำเรือเข้าเทียบให้เสร็จสิ้นก่อนเวลาน้ำ ลง ระดับน้ำลงต่ำสุด ประมาณ 1. 2 เมตร ซึ่งเรือจะนั่งแท่น ลักษณะพื้นท้องทะเลเป็นโคลน ในช่วงเวลากลางคืน อาจมี ลมแรงให้ระมัดระวังเรือประมงที่เทียบอยู่ฝั่งตรงข้ามโดย จอดเทียบกันอยู่หลายลำ มักจะมีเรือประมงหลุดจากเทียบ เวรยามต้องระมัดระวังเรือให้ดี และก่อนออกเรือควรทำการ หยั่งน้ำก่อนทุกครั้ง
19. ลักษณะท่าเรือเมื่อน้ำลงต่ำสุด
20. การติดต่อสื่อสาร วิทยุ ไม่มี โทรศัพท์ ประสานกับทัพเรือภาคที่ 1 สิ่งอำนวยความสะดวก การบริการน้ำ ไม่มี การบริการไฟฟ้า ไม่มี มีตลาดและร้านขายของต่าง ๆ ห่างจากท่าเรือ ประมาณ 800 เมตร ความสัมพันธ์กับประชาชนในพื้นที่ : มีความสัมพันธ์ที่ดี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น