ความสุข จะมีความหมายแท้จริง เมื่อได้แบ่งปัน ... The simple life-ชีวิตที่เรียบง่าย Adventurous-รักการผจญภัย Brave heart-ใจกล้าหาญ Creative-มีความคิดสร้างสรรค์ ...

วันพุธที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2559

ท่าเทียบเรือแหลมพันวา ภูเก็ต (Laem Phanwa Phuket Port)

ท่าเทียบเรือแหลมพันวา ภูเก็ต (Laem Phanwa Phuket Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.221



1. หลักเทียบเรือ ทรภ. ๓ แหลม พันวา จ. ภูเก็ต เรือ ต. ๒๒๑ เข้าราชการ มรอ. เม. ย. ๕๔ – ก. ย. ๕๔

2. หลัก เทียบเรือ ก. ภูเก็ต ก. โล้น แหลม พันวา

3. บก. ทรภ. ๓ หลัก เทียบเรือ

4. กระโจมไฟ แนวหิน

5. หลักเทียบเรือด้านนอก หลักเทียบเรือ ด้านนอก ( เรือ PGM )

6. หลักเทียบเรือ ด้านใน ( เรือ PCF ) หลักเทียบเรือด้านใน

7. ภาพเรือ PCF เมื่อทำการเทียบเรียบร้อย แล้ว

8. ข้อระมัดระวัง ทางเข้าท่าเรือไม่มีที่หมายในการนำเรือที่ เด่นชัด มีแนวหินยืนออกมาจาก กระโจมไฟประมาณ 100 หลา ในแนว ตะวันตก - ตะวันออก การนำ เรือเข้าควรเผื่อระยะไว้ด้วย โดยเฉพาะเวลาน้ำ ลง

ท่าเทียบเรือร่องน้ำปากบารา (Estuary Pak Bara Port)

ท่าเทียบเรือร่องน้ำปากบารา (Estuary Pak Bara  Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.220



1. ท่าเทียบเรือสถานี เรือละงู เรือ ต. 220 เข้าราชการทรภ. ๓ ต. ค. ๕๓

2. หลัก นำหน้า หลักนำ หลัง

3. ท่าเทียบเรือสถานีเรือละงู

4. ภาพ บก. สถานี เรือละงู

5. นป. สอ. รฝ. ๔๕๒ สถานีเรือ ละงู ฉก. กร. ๓๖๑ หน่วยงานใน บริเวณใกล้เคียง

6. ก่อนถึงบริเวณทุ่นไฟปากร่อง เข้าร่องน้ำ บุโบย จะมี ลอบดักปลา เป็นจำนวนมาก ในช่วงเวลาน้ำขึ้น จะอยู่ปริ่มน้ำ สังเกตได้ ยาก โดยเฉพาะ ด้านปลายของลอบที่หัน เข้าหาฝั่งนั้นจะวางไว้เป็นทางยาว ควรนำ เรือด้วยความระมัดระวัง และหาก จำเป็นต้องนำเรือผ่าน ควรนำเรือตัดผ่านแต่ เนิ่น ๆ ควรนำเรือให้อยู่กลางร่องน้ำ โดยใช้ หลักนำ เนื่องจาก บริเวณนอกร่องน้ำ ด้านขวาจะตื้นมาก และด้านซ้ายจะมีโขดหิน มีหลักแสดงเขตน้ำตื้นแจ้งไว้ ให้ระมัดระวัง เรือประมงขนาดเล็ก ( เรือ หางยาวและเรือหัวโทง ) สัญจร เนื่องจากมี ท่าเทียบเรือประมงบุโบยทางด้านกราบขวา และในบางครั้ง อาจมีการวางอวนถ่วงไว้ กลางร่อง ข้อควรระมัดระวัง

7. แนวร่องน้ำ ฝั่งซ้าย แนวร่องน้ำ ฝั่งขวา แนวร่องน้ำทั้ง ๒ ฝั่ง

8. ตย. ลอบดักปลา ที่วาง อยู่หน้าร่องน้ำ

ท่าเทียบเรือหาดหน้าทอน เกาะสมุย (Hat Nathon Ko Samui Port)

ท่าเทียบเรือหาดหน้าทอน เกาะสมุย (Hat Nathon Ko Samui Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.16



1. การสำรวจบริเวณท่าเรือซีทราน เฟอร์รี่หาดหน้าทอน เกาะสมุย จ. สุ ราษฎร์ธานี

2. ๑. วันที่สำรวจ๕ มิ. ย. ๕๔ สำรวจโดย เรือ ต. ๑๖ ๒. ลักษณะน้ำ / ลม / มาตราน้ำ / ข้างขึ้น - แรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำ 2.4 เมตร จากระดับน้ำลงต่ำสุด ทะเลเรียบ ลมสงบ ๓. ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 243 ( อศ.) แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 261 ( อศ.) แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 204 ( อศ.) ตำบลที่ท่าเรือซีทรานเฟอรี่หน้าทอน ก. สมุย จ. สุราษฎร์ธานี ทุ่นไฟปากร่องแลต 9 องศา 31.9 ลิปดา น. ลอง 99 องศา 55.61 ลิปดา อ.

3. รูปที่ ๑ ภาพถ่ายทางอากาศ บริเวณหาดหน้าทอน ก. สมุย จ. สุราษฎร์ธานี ทุ่นไฟปากร่อง

4. ลักษณะร่องน้ำ ร่องน้ำบริเวณทุ่นไฟปากร่องน้ำมีความลึก โดยเฉลี่ย 7 – 8 เมตร ที่ระดับน้ำขึ้น สูงสุด ( 2.7 เมตร ) บริเวณที่ไฟปากร่องน้ำจนถึงบริเวณจอดเรือ มีความลึกเฉลี่ย 3 – 4 เมตร บริเวณที่จอดเรือ เป็นท่าเรือคอนกรีตของท่าเรือซีทรานเฟอร์รี่มีลูก ตะเพลารับยาวตลอดท่าเรือ มีทุ่นไฟปากร่อง จำนวน 1 ทุ่น และ เสาวิทยุ และเข็มหลักในการ นำเรือเข้าร่องน้ำ เข็ม 090 ตามรูปที่ ๒ และ ๓

5. รูปที่ ๒ ภาพถ่ายทุ่นไฟปากร่อง

6. รูปที่ ๓ ภาพถ่ายเสาวิทยุ

7. ลักษณะท่าเรือ ท่าเรือซีทรานเฟอร์รี่มีความลึก ประมาณ 3 – 4 เมตร ท่าเรือเป็นคอนกรีต ขนาดโดยประมาณ กว้าง 600 เมตร ยาว 600 เมตร บริวณที่จอดเรือ มีความยาว ประมาณ 150 เมตร ภาพร่างบริเวณ ท่าเรือซีทรานเฟอรี่ แสดงใน รูปที่ ๔ และ ๕

8. รูปที่ ๔ ภาพถ่ายบริเวณท่าเรือ ซีทรานเฟอรี่

9. รูปที่ ๕ ภาพร่างบริเวณท่าเรือ ซีทรานเฟอร์รี่

10. พื้นท้องทะเลหิน การนำเรือเข้าเทียบ / ออกจากเทียบ เมื่อถึงบริเวณ ทุ่นไฟปากร่อง นำเรือเข้าให้นำเรือทางขวา ของ ท่าเรือ เพื่อให้มีมุมในการนำเรือเข้าที่จอดเรือ การ นำเรือออกให้ถอยหลังออกเนื่องจากร่องน้ำมี บริเวณ ไม่กว้างมาก และมีคลื่นพัดเข้าฝั่งอยู่ตลอด ให้ทำการถอยออกจนเลยท่าเรือ แล้วจึงกลับลำ ข้อควรระมัดระวัง การนำเรือเข้า - ออกจะมีเรือเฟอร์ รี่ของท่าเรือเข้า - ออก ต้องระมัดระวัง ในการนำเรือ และบริเวณท้ายเรือจะมีเรือเฟอร์รี่จอดอยู่ทำให้ใน การเข้าออกต้องระมัดระวัง การจอดเรือ จะมี เรือ เฟอร์รี่จอดบริเวณที่จอดปกติ แต่ถ้าไม่มีสามารถ จอดได้ ตามรูปที่ ๖

11. รูปที่ ๖ ภาพบริเวณที่จอดเรือ และข้อระมัดระวัง

12. ๔. การติดต่อ วิทยุไม่มี โทรศัพท์ไม่มี รายชื่อ ไม่มี เบอร์ติดต่อสำคัญในพื้นที่ ไม่มี

13. ๕. สิ่งอำนวยความสะดวก ท่อน้ำการประปา ( ) ไฟฟ้าไม่มี โทรศัพท์ไม่มี

ท่าเทียบเรือร่องน้ำบางนรา (Estuary Bang Nara Port)

ท่าเทียบเรือร่องน้ำบางนรา (Estuary Bang Nara Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.16




1. การสำรวจร่องน้ำคลองบางนรา จ. นราธิวาส

2. ๑. วันที่สำรวจ ๓๐๑๔๐๐ พ. ค. ๕๔ สำรวจโดยเรือ ต. 16 ๒. ลักษณะน้ำ / ลม / มาตราน้ำ / ข้างขึ้น - แรม น้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำ ๔. ๒ เมตร ระดับน้ำลงต่ำสุดตรงกับ วันแรม 8 ค่ำ เดือน 9 ทะเล เรียบ ลมสงบ ๓. ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 206 ( อศ.) ตำบลที่ ร่องน้ำบางนรา จ. นราธิวาส ทุ่นไฟปากร่อง แลต 06 องศา 27.9 ลิปดา น. ลอง 101 องศา 49. ลิปดา อ.

3. รูปที่ ๑ ภาพถ่ายทางอากาศบริเวณ ร่องน้ำคลองบางนรา

4. ลักษณะร่องน้ำ ร่องน้ำบริเวณปากแม่น้ำคลองบางนราร่องน้ำมี ลักษณะเป็นเขื่อนกันคลื่นมีความกว้างประมาณ 300 หลา มีมีความลึกโดยเฉลี่ย 9 - 10 เมตร ตามรูปที่ ๒ ที่ระดับน้ำขึ้นสูงสุด ( 1.0 เมตร ) บริเวณปากร่องน้ำ จนถึงบริเวณท่าเรือโกแดง มีความลึกเฉลี่ย 6 - 7 เมตร ตามรูปที่ ๓ บริเวณท่าเรือ มีความลึกเฉลี่ย 2 – 2.5 เมตร บริเวณท่าเรือมีความยาวประมาณ 100 เมตรมี ทุ่นแดงเขียวสลับกันกำกับตลอดร่องน้ำ และเข็มหลัก ในการนำเรือเข้าร่องน้ำ เข็มประมาณ 170 ตามรูปที่ ๔

5. ที่หมายเวลากลางคืน มี ทุ่นไฟปากร่อง ๑ ทุ่น มีไฟกำกับร่องน้ำที่เขื่อน กันคลื่นทางซ้ายและขวาข้างละ ๑ ทุ่น ตามรูปที่ ๒

6. รูปที่ ๒ ภาพถ่ายปากร่องน้ำ คลองบางนรา

7. รูปที่ ๓ ภาพถ่ายในร่องน้ำคลอง บางนรา

8. รูปที่ ๔ ภาพถ่าย ทุ่นแดง ทุ่น เขียว

9. ลักษณะท่าเรือ ท่าเทียบเรือโกแดง คลองบางนรา จ. นราธิวาส มีความลึก ประมาณ 2 - 3 เมตร ท่าเรือ เป็นไม้ติดกับตึกอาคารห้องพักที่จอดรถของอาคาร รูปตัว I ขนาดโดยความประมาณ ยาว 100 เมตร แสดงใน รูปที่ ๕ และ ๖

10 รูปที่ ๕ ภาพถ่ายบริเวณท่าเทียบ เรือโกแดง

11 รูปที่ ๖ ภาพร่างบริเวณท่าเทียบ เรือโกแดง จ. นราธิวาส

12 พื้นท้องทะเลโคลนปนเลน การนำเรือเข้าเทียบ / ออกจากเทียบการนำเรือ เข้าร่องน้ำนราธิวาสจะมีทุ่นไฟปากร่องและทุ่นไฟ ปลายเขื่อนกันคลื่น เมื่อถึงบริเวณทุ่นไฟปากร่อง เข็มหลักในการนำเรือเข้าร่องน้ำ คือ เข็ม 170 ระยะทางประมาณ 1000 หลาจะผ่านทุ่นไฟสีแดง ทางกราบซ้ายระยะประมาณ 1000 หลา จะผ่าน ทุ่นไฟสีเขียว ทางกราบขวา ระยะทางประมาณ 3000 หลา ก็จะถึงท่าเรือโกแดงความกว้างร่อง น้ำประมาณ 200 – 300 เมตร ข้อควรระมัดระวังบริเวณที่จอดเรือพื้นที่จะ แคบจะมีเรือประมงขนาดเล็ก ( ทางขวา ) และโรง จอดเรือขนาดเล็ก ( ทางซ้าย ) ตามรูปที่ ๗ การ เทียบจำเป็นต้องใช้ความระมัดระวังในการเทียบ

13 รูปที่ ๗ ภาพบริเวณท่า เทียบเรือ และข้อ ระมัดระวัง

14 รูปที่ ๘ ภาพบริเวณท่า เทียบเรือ และข้อ ระมัดระวัง

15 ๔. การติดต่อ วิทยุไม่มี โทรศัพท์๐๘๑ - ๘๙๘๔๖๘๒ รายชื่อ คุณ โกแดง เบอร์ติดต่อสำคัญในพื้นที่ ๐๘๑ - ๘๙๘๔๖๘๒

16 ๕. สิ่งอำนวยความสะดวก ท่อน้ำมี ไฟฟ้ามี (220 v) โทรศัพท์ไม่มี

วันศุกร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2559

ท่าเทียบเรือ อ่าวทับละมุ (Estuary Ao Thap Lamu Port)

ท่าเทียบเรือ อ่าวทับละมุ (Estuary Ao Thap Lamu  Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.96



1. ท่าเทียบเรือ ฐท. พังงา. ทรภ. ๓

2. ๑. วันที่สำรวจ๑๔๐๙๐๐ ก. ค. ๕๔ โดย เรือ ต. 96 ๒. ลักษณะน้ำ / ลม / มาตราน้ำ / ข้างขึ้น - แรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูง น้ำ ๒. ๘ เมตร จากระดับน้ำลงต่ำสุด ตรง กับวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8 ทะเลมีคลื่น เล็กน้อยถึงปานกลาง ความเร็วลม 7-8 น็อต ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

3. ๓. ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่ 353 บ้านท้าย เหมือง ถึง ช่องปากเกาะ แผนที่ ล. 25 อ่าวทับละมุ ตำบลที่ ท่าเทียบเรือ ฐท. พังงา. ทรภ. ๓ ทุ่นไฟปากร่อง ( ทุ่นไฟ NO.2) แลต 8 องศา 35.7 ลิปดา เหนือ ลอง 98 องศา 13.9 ลิปดา ตะวันออก

4. หิน ขี้นก กระโจมไฟเขา หน้ายักษ์ หลักนำ แรก หลักนำที่ สอง NO.2 No. 4 No. 6 No. 3 ระยะห่างปลายแหลม ประมาณ 600 หลา C-090 C- 161 C-206

5. การนำเรือเข้าเทียบ / ออกจากเทียบ เมื่อนำเรือเข้ามาใกล้ปากอ่าวเขาหลักจะมองเห็นกระโจม ไฟหินขี้นกซึ่งตั้งอยู่บนหินขี้นกและทุ่นไฟกำกับร่อง ( ทุ่นแดง หมายเลข 2 ) ได้อย่างชัดเจน ให้นำเรือถือเข็มประมาณ 090 ผ่านปลายแหลมอ่าวขาม ( ปลายแหลมกระโจมไฟเขาหน้ายักษ์ ) ทางด้านทิศเหนือในระยะห่างประมาณ 600 หลา โดยใช้ทุ่นไฟ กำกับร่อง ( ทุ่นแดงหมายเลข 2 ) เป็น HEAD MARK เมื่อเห็น หลักนำคู่แรกให้เปลี่ยนเข็มเรือเข้าหาหลักนำคู่แรก เมื่อนำเรือ ผ่านทุ่นแดงหมายเลข 4 และทุ่นเขียวหมายเลข 3 ให้เปลี่ยน เข็มเรือเข้าหาหลักนำคู่ที่สอง และเมื่อนำเรือผ่านทุ่นแดง หมายเลข 6 สามารถเปลี่ยนเข็มเพื่อนำเรือเข้าจอดที่ท่าเทียบ เรือ ฐท. พง. ทรภ. 3 สำหรับเรือ ตกช. และ ตกฝ. ให้เทียบ บริเวณด้านในของท่าตามรูปโดยอ้อมทุ่นแดงปลายเขื่อน ใน การ เข้าเทียบขณะมีกระแสน้ำขึ้น - น้ำลง ควรสังเกตุกระแสน้ำและนำ เรือในลักษณะทวนกระแสน้ำ

6. หินขี้นก

7. กระโจม ไฟ เขาหน้า ยักษ์

8. ทุ่นไฟ ใหม่ ทุ่นไฟ เก่า

9. หลักนำคู่แรกเข็ม 161

10. หลักนำคู่ที่สองเข็ม 206

11. ข้อ ระมัดระวัง สิ่งปลูกสร้างบริเวณ ปลายเขื่อน

12. ข้อควรระมัดระวัง ๑. ไม่ควรนำเรือเข้าใกล้ปลายแหลมเขาหน้า ยักษ์เนื่องจากมีแนวหินใต้น้ำอยู่ สามารถเห็นได้ ชัดเจนในเวลาที่น้ำลงต่ำสุด ๒. ให้ระวังสิ่งปลูกสร้างท้ายทุ่นแดงปลายเขื่อน ทำให้ทางเข้าไปเทียบแคบ และให้ระวังเวลา เทียบในตอนที่น้ำลงเพราะอาจติดตื้นไม่ควรนำ เรือให้ออกห่างจากท่าเรือมากเกินไป ๓. กระแสน้ำในช่วงน้ำลงต่ำค่อนข้างแรง ควรใช้ เครื่องจักรถอยหลังในการนำเรือเข้าเทียบ

13. ๔. การติดต่อสื่อสาร ศูนย์สื่อสาร ฐท. พง. ทรภ. ๓ ธุรการ VHFCH. 67

ท่าเทียบเรือ ปากน้ำตาปี (Paknam Tapi Port)

ท่าเทียบเรือ ปากน้ำตาปี (Paknam Tapi Port)


ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.993



1. ข้อมูลร่องน้ำบ้านดอน ปากน้ำตาปี จ. สุราษฎร์ธานี Knowledge Management: KM เรือ ต. 993

2. รายละเอียดทั่วไป ๑. วันที่สำรวจ ๑๗๑๖๐๐พ. ค. ๕๔ โดย เรือ ต. ๙๙๓ ๒. ลักษณะกระแสน้ำ / กระแสลม / ข้างขึ้น - ข้างแรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความลึกน้ำโดยเฉลี่ย บริเวณร่องน้ำ 3.5 เมตร หักลงหาระดับน้ำลงต่ำสุด ( ความสูงน้ำจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ) ส่วนบริเวณ พื้นที่อ่าวบ้านดอนความลึกน้ำเฉลี่ย 0.5-1.0 เมตร ช่วงเวลาน้ำขึ้น กระแสน้ำไหลไปในทิศ 225 ( จริง ) ความเร็ว 2 นอต ช่วงเวลาน้ำลง กระแสน้ำไหลไปในทิศ 045 ( จริง )

3. รายละเอียดทั่วไป ๓. ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง ๓. ๑ ระวางแผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่เดินเรือไทย ( กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ ) หมายเลขระวาง 227 แผนที่ประกอบร่องน้ำบ้านดอน ศูนย์พัฒนาและ บำรุงรักษาทางน้ำที่ ๖ ( สุราษฎร์ธานี ) กรมเจ้าท่า หมายเลขระวาง ๔๒๐. ๑ ๓. ๒ ตำบลที่อ่าวบ้านดอน ต. บางกุ้ง อ. เมือง จ. สุ ราษฎร์ธานี ๓. ๓ ทุ่นไฟปากร่อง (Fl 3s 7M) ตำบลที่ แลต 9 องศา 22.68 ลิปดา น. ลอง 99 องศา 25.97 ลิปดา อ.

4. รายละเอียดทั่วไป ระวางแผนที่  แผนที่ไทย หมายเลข 227 แผนที่ร่องน้ำกรมเจ้าท่า หมายเลข 420.1 ( จัดหา เพิ่มเติมจาก ศูนย์พัฒนาและบำรุงรักษาทางน้ำ ) ความลึกน้ำโดยเฉลี่ย 3.5 เมตร ระยะทางรวมประมาณ 13 ไมล์ ระบบทุ่นกำกับร่องน้ำ IALA Region A ( ขาเข้า : เขียวขวา แดงซ้าย ) การติดต่อสื่อสารระหว่างเรือที่สัญจรในร่องน้ำ หลัก MRT CH.13 รอง CH.16

5. ๓. ๕ ข้อมูลท่าเทียบเรือ ท่าเทียบเรือท่าทองประกอบด้วย 2 ท่าเทียบ ความยาวท่าเทียบเรือ 194 เมตร และ 94 เมตร ความลึกน้ำโดยเฉลี่ยบริเวณท่าเทียบเรือ 4.8 เมตร เป็นบริเวณที่จอดเรือของ บริษัทเอกชน สนับสนุนการปฏิบัติงานบนแท่น ขุดเจาะ เรือซ่อมทำและวางสายเคเบิ้ลใต้น้ำ (JUSMINE) บริเวณท่าเทียบเรือหมายเลข 1 ( 94 เมตร ) เป็นท่าเทียบเรือลากจูงขนาดใหญ่ สำหรับการขนถ่ายแร่ยิปซัม รายละเอียดทั่วไป

6. แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 227

7. แผนที่ร่องน้ำกรมเจ้าท่า หมายเลข 420.1

8. เข็มที่ 1 C-180 R- 5.1 นำเรือเกาะทุ่นเขียวกราบขวาห่าง ประมาณ 100 หลา ผ่านที่ตื้นบริเวณ ทุ่นเขียวหมายเลข 3 (2.0 เมตร ) เปลี่ยนเข็มเมื่อทุ่น 7 ได้บี มกราบขวา เปลี่ยนเข็มเมื่อทุ่น 7 ได้บี มกราบขวา เล็ง Stern Mark C-205 หัวเรือจี้ทุ่น 8 เล็ง Stern Mark C-205 หัวเรือจี้ทุ่น 8 เข็มใหม่ C-205 เข็มใหม่ C-205

9. เข็มที่ 2 C-210 R เริ่มมองเห็นหลัก นำหัวเรือ เมื่อผ่าน บีมทุ่นแดง หมายเลข 8 นำ เรือตามหลักนำหัว เรือ C-210

10. เข็มที่ 3 C-210 R เมื่อผ่านทุ่นเขียวหมายเลข 13 เปลี่ยนเข็มไป ทางซ้าย หัวเรือจี้หลักแสดงขอบร่องน้ำหมายเลข 18 - ระหว่างทุ่นเขียวหมายเลข ที่ตื้นอยู่ทาง กราบขวา บริเวณหลักนำ - นำเรือให้ตกใกล้กับทุ่นกำกับร่องน้ำสีแดง ( น้ำลึก )

11. ท่าเทียบเรือ - ท่าเทียบเรือท่าทอง - ความลึกน้ำโดยเฉลี่ยประมาณ 5 เมตร - รายละเอียดท่าเทียบเรือ ประสาน คุณอรุณ ตร. เรือมา โดร่า บ. จัสมิน ( นรจ. ๑๖ ) โทร

12. ข้อควรระมัดระวัง บริเวณร่องน้ำมีเรือประมงท้องถิ่นขนาดเล็กสัญจร และทำประมงชายฝั่งจำนวนมาก ตลอดจนมีการ วางเครื่องมือจับสัตว์น้ำในเขตร่องน้ำ ควรเพิ่ม ความระมัดระวังในการเดินเรือ ในช่วงเวลาน้ำลง จะมีเรือลากจูงขนาดใหญ่ติด ตื้นอยู่บริเวณกลางร่องน้ำอยู่เป็นประจำ เนื่องจากร่องน้ำบางช่วงตื้นมาก หากสามารถ ดำเนินการได้ ควรเลือกเวลานำเรือผ่านเข้า - ออก ในช่วงน้ำขึ้นสูงสุด รายละเอียดทั่วไป

13. ๔. การติดต่อสื่อสารและนำร่อง การติดต่อระหว่าง เรือ - เรือ ในร่องน้ำ Marinetime Band ช่อง 13 และ 16 นามเรียกขานใช้ ชื่อเรือ การประสานท่าเทียบเรือท่าทอง คุณอรุณ โทร ๐๘๑ - ๔๗๗๖๒๒๙ เลขานุการมูลนิธิศาลเสด็จเตี่ย กรมหลวง ชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ปากน้ำตาปี บังคับใช้นำร่องสำหรับเรือที่มีระวางขับน้ำเกินกว่า 1,000 ตันกรอส ๕. สิ่งอำนวยความสะดวก ท่อน้ำ ไม่มี ( ขอรับการสนับสนุนน้ำจืดจากรถส่งน้ำ ) ไฟฟ้าไม่มี โทรศัพท์ไม่มี รายละเอียดทั่วไป

ท่าเรือศุลกากร ระนอง (Ranong Customs Port)

ท่าเรือศุลกากร ระนอง (Ranong Customs Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.214



1. ท่าเรือ ศุลกากร

2. ทุ่นไฟปากร่อง NO.2 หลักนำ NO.3 NO. 5 NO.4 NO.6 NO.7 NO.8 NO. 9 NO.1 0 NO.1 1 NO.12 NO.13 NO.14 ปากน้ำระนอง ก. โคม ก. ช้าง ก. ผี ก. สนพม่า ( ก. รู ) ก. สน ไทย ก. ตา ครุฑ ก. ปลิง ก. หม้อ

3. การนำเรือเข้าร่องน้ำ เข็มแรก 048. ๕ ผ่าน ก. โคม และ ก. ช้าง ใช้ หลักนำคู่แรก มีที่หมายอันตรายคือโขดหิน บริเวณปลายแหลม ก. ช้าง เข็มที่สอง 090 ผ่านด้านเหนือของ ก. ช้าง โดย หลักนำคู่ที่ 2 ( ไฟหลักนำหลักหลังดับ ) เข็มที่3 058 นำเรือให้ทิศหัวเรือตรงกับเนิน ด้านเหนือของ ก. เหลา ( เข็มนี้ไม่มีหลักนำ ) เข็มที่4 045 ผ่าน ก. สนไทย ก. ตราครุฑ ก. ปลิง ก. หม้อ และก. สอง ทางกราบซ้าย โดยนำ เรือให้ทิศหัวเรือตรงกับกระโจมไฟ ก. ผี เข็มที่5 030 ผ่านท่าเทียบเรือศุลกากร แพปลา ต่างๆ และท่าเทียบเรืออเนกประสงค์ ทางกราบ ขวา

4. ทุ่นไฟปากร่องน้ำ ระนอง

5. ภาพแสดงทุ่นไฟสีแดง ภาพแสดงทุ่นไฟสีเขียว

6. หลักนำร่องน้ำระนอง

7. กระโจมไฟ ก. โคม

8. เกาะสะระนีห์ ( เกาะผี )

9. ท่าเรือศุลกากร ท่าเรือน้ำลึก อเนกประสงค์ เกาะ ผี

ท่าเทียบเรือเกาะพยาม(Ko Phayam Port)

ท่าเทียบเรือเกาะพยาม(Ko Phayam Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.214



1. ท่าเทียบเรือ เกาะพยาม จ. ระนอง เรือ ต. 214 ปฏิบัติราชการ ทรภ. ๓ เดือน มิ. ย. ๕๔

2. ข้อมูลโดยทั่วไปของท่าเทียบเรือ  ขนาดท่าเทียบเรือโครงสร้างเป็นคอนกรีตเสริม เหล็กรูปตัว T ทางเข้า กว้าง 2 ม. ยาว 160 ม. บริเวณ หน้าท่า ยาว 7 ม. กว้าง 2 ม.  มีความลึกหน้าท่าเฉลี่ย 3 เมตร  ไม่มีพุกสำหรับคล้องเชือก ( ใช้เชือกคล้อง ) และไม่มียางกันกระแทก  บริเวณขอบเขื่อนแคบ มีตัวกันกระแทกไม่ มั่นคง ( ต้นมะพร้าว )  สิ่งอำนวยความสะดวก ท่อน้ำจืด ไม่มี ไฟฟ้า ไม่มี โทรศัพท์ ไม่มี ไฟแสงสว่าง มี

3. ท่าเรือเกาะพะยาม ทุ่นแดงหมายเลข 2 ทุ่นเขียว หมายเลข 1 ทุ่นแดง หมายเลข 4

4. ท่าเรือเกาะพะยาม ทุ่นแดงหมายเลข 2 ทุ่นเขียว หมายเลข 1 ทุ่นแดง หมายเลข 4 C-000/C- 180 สามารถนำเรือเข้าจอดที่ท่าเทียบเรือเกาะพะยาม ได้ทั้งทางด้านทิศเหนือ และทิศใต้ โดยใช้เข็ม 000 หรือ 180 ระยะห่างฝั่งประมาณ 2000 หลา โดยเมื่อแบริ่งท่าเทียบเรือได้ 090 และ 270 ให้เปลี่ยนเข็มเข้าหาท่าเทียบเรือ โดยสามารถจอดเทียบด้านขวาของท่าเทียบเรือ

5. ตำบลที่ เทียบเรือ

6. ภาพถ่ายแสดงการเทียบเรือท่าเทียบเรือ เกาะพยาม จ. ระนอง

7. สามารถจอดเทียบได้เฉพาะตกฝ., ตกช., สามารถจอดเทียบได้ทั้งเวลาน้ำขึ้นและน้ำลง น้ำลึก บริเวณท่าเรือประมาณ 2-4 เมตร แต่ เพื่อความ ปลอดภัยในการนำเรือควรเลือกเข้าเฉพาะเวลาน้ำขึ้น ควรจอดบริเวณขอบตัวของท่ารูป T ด้านขวา ( ด้าน เหนือท่า ) เมื่อหันหน้าเข้าท่าเทียบเรือ บริเวณขอบเขื่อนแคบ มีตัวกันกระแทกไม่มั่นคง ( ต้น มะพร้าว ) ต้องจอดเทียบด้วยความระมัดระวัง ไม่มีพุก สำหรับคล้องเชือก ปัจจุบันได้ดำเนินการทำห่วงเชือก สำหรับใช้แทนพุก ช่วงคลื่นลมแรงควรพิจารณาหลีกเลี่ยงในการจอดที่ท่า เทียบเรือนี้ ไม่สามารถรับน้ำได้ ไม่สามารถใช้ไฟบกได้ ไม่สามารถรับน้ำมันได้ มีสถานีอนามัยในกรณีฉุกเฉิน บริเวณท่าเรือมีแรงชาวพม่าพลุกพล่าน ในเวลา กลางคืนควรกวดขันเรื่องเวร - ยามเป็นกรณีพิเศษ ข้อควรระมัดระวัง

ท่าเรือประจวบคีรีขันธ์ (Prachuap Khiri Khan Port )

ท่าเรือประจวบคีรีขันธ์ (Prachuap Khiri Khan Port )

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย กองทัพเรือ



1. ท่าเรือประจวบคีรีขันธ์

2. ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ๑. วันที่สำรวจ ๑๙ พ. ค. ๕๔ ๒. ลักษณะน้ำ / ลม / มาตราน้ำ / ข้างขึ้น - แรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำ 15 เมตร จากระดับน้ำลงต่ำสุด ตรงกับ วันขึ้น 8 ค่ำ เดือน 6 ทะเลมีคลื่นเล็กน้อย ลมและฝน

3. ๓. ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 260 ตำบลที่ตั้งอยู่ภายในอ่าวเทียน อ. บางสะพาน จ. ประจวบคีรีขันธ์ ทุ่นไฟปากร่องแลต 11 องศา 11.9 ลิปดา น. ลอง 99 องศา 33.5 ลิปดา อ.

4. ตำบลที่ ตั้งอยู่ภายในอ่าวเทียน อ. บางสะพาน จ. ประจวบคีรีขันธ์ ท่าเทียบเรือ ประจวบคีรีขันธ์

5. C-310 ทุ่นไฟ ปากร่อง ท่า A ท่า C-D ท่า B หลัก นำ แผนที่ 260 กระโจมไฟแหลมแม่รำพึง แลต 11 องศา 11.9 ลิปดา น. ลอง 99 องศา 33.5 ลิปดา อ.

6. ๔. ข้อมูลท่าเรือ ลักษณะท่าเรือโดยรวมเป็นท่าเรือน้ำลึกสร้างเป็นรูปตัว U โดยมีเขื่อนกันคลื่น ที่เป็นคอนกรีตสำเร็จรูปคล้ายบูมเมอแรงวางตัวทอดยาวจากฝั่งมีความยาว ทั้งสิ้นประมาณ 1400 ม. สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 6.5 ม. ป้องกัน ท่าเรือจากสภาวะคลื่นลมต่างๆ ตัวท่าเรือแบ่งออกเป็น 3 ท่า ได้แก่ ท่าหลัก ( ท่า A 1-2 ) ทอดยาวในทิศเหนือ – ใต้ มีความยาว 450 ม. น้ำลึก 15 ม. สามารถจอดเรือขนาดไม่เกิน 100,000 DWT ยาว 200 ม. ได้พร้อม กัน จำนวน 2 ลำ ท่ารอง ( ท่า B 1-2) ทอดยาวในทิศตะวันออก – ตะวันตก มีความยาวยาว 245 ม. น้ำลึก 8-12 ม. สามารถจอดเรือขนาดไม่เกิน 20,000 DWT ยาว 100 ม. ได้พร้อมกันจำนวน 2 ลำ ท่าแห่งใหม่ (C-D) ทอดยาวในทิศเหนือ – ใต้ แบ่งเป็น 2 ท่า ได้แก่ ท่าด้าน นอก ( ท่า C 1-5 )

7. ท่า A ท่า B ท่า C ท่า D จอดเรือบริเวณ ท่า A

8. ๕. การติดต่อสื่อสาร (COMUNICATION ) สำนักงานที่ทำการท่าเรือประจวบ โทร๐๓๒ - ๖๙๓๑๔๑ และ ๐๘๕ - ๐๗๐๗๓๑๙ VHF ช่องที่ 67 และช่องที่ 16 โดยให้บริการตลอด 24 ช. ม. นามเรียกขานท่าเรือประจวบใช้ “ ท่าเรือประจวบ ” หรือ HSC 320 เรือที่จะเข้ารับการสนับสนุนท่าเรือใช้ “ ชื่อเรือ ” หรือ “ นามเรียกขานสากล ” และ การติดต่อสื่อสารกับ นำ ร่องทางวิทยุ VHF ช่องที่ 13 นามเรียกขานนำร่องใช้ “ นำร่อง ”

9. C-310 ทุ่นไฟ ปากร่อง ท่า A ท่า C-D ท่า B หลักนำ แผนที่ 260 แลต 11 องศา 11.9 ลิปดา น. ลอง 99 องศา 33.5 ลิปดา อ. กระโจมไฟ แหลมแม่รำพึง หลัก นำหน้า หลัก นำหลัง

10. กระโจมไฟแหลมแม่ลำพึง (Fl 6s 75m 10M)

11. หลักนำหน้าเป็นไฟวับเดี่ยวสีส้ม ทุก ๔ วินาที และหลักนำหลัง เป็นไฟวับเดี่ยวสีส้มทุก ๕ วินาที หลัก นำหน้า หลักนำ หลัง

12. ท่าเทียบเรือ A บริเวณที่จอดเทียบเรือ

13. ๖. สิ่งอำนวยความสะดวก (FACILITYS) ติดต่อ คุณ มานพ เจ้าหน้าที่ประจำท่าเรือประจวบ ที่ สำนักงานท่าเรือประจวบ หมายเลขโทรศัพท์ ๐๘๕ – ๗๐๗๗๓๑๘ หรือทางวิทยุ VHF ช่องที่ 67 น้ำมันเชื้อเพลิง (FUEL) สามารถแจ้งขอรับการสนับสนุน น้ำมันเชื้อเพลิงได้จากท่าเรือประจวบโดยติดต่อผ่านนำร่อง การบริการน้ำมันเชื้อเพลิงจากบริษัทน้ำมัน และราคาตามที่ ตกลง ส่งโดยรถบรรทุกครั้งละ 15 ตัน น้ำจืด ( น้ำใช้ ) และน้ำดื่ม สามารถแจ้งขอรับการ สนับสนุนการบริการจากบริษัทเอกชนในพื้นที่ ไฟฟ้า (ELECTRICITY) ท่าเรือประจวบสามารถสนับสนุน ไฟฟ้าแสงสว่าง 220 v และไฟฟ้าส่องสว่าง (Sport light)

14. ๖. สิ่งอำนวยความสะดวก (FACILITYS) เสบียง สามารถจัดหาที่ตลาดบางสะพานอยู่ห่างจาก ท่าเรือประจวบ ประมาณ 10 กม. การขนส่ง ท่าเรือประจวบสามารถให้บริการรถยนต์ใช้สอย ซึ่งเป็นรถบรรทุกขนาดเล็กสำหรับจ่ายเสบียงหรือ สิ่งจำเป็นต่างๆถ้าต้องการรถยนต์นั่งขนาดใหญ่จะต้อง ประสานขอรับการสนับสนุนจากบริษัทท่าเรือประจวบซึ่ง จะเป็นรถรับ – ส่งพนักงานของท่าเรือ โรงพยาบาล (HOSPITAL) โรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุดจะ เป็นโรงพยาบาลบางสะพานซึ่งตั้งอยู่ในตัว อ. บางสะพาน ห่างจากท่าเรือประมาณ 10 กม.

15.  มีเจ้าหน้าที่อำนวยความสะดวกในการเข้าเทียบ

16. มียางกันกระแทก และ ล้อยางขนาดใหญ่ พุกและห่วงสำหรับ ร้อยเชือก

17. ๗. ระเบียบปฏิบัติและข้อบังคับของท่าเรือ (REGULATIONS OF PORT) ท่าเรือประจวบเป็นท่าเรือเอกชนขนาดใหญ่ซึ่งมี การเข้าออกของเรือสินค้าค่อนข้างมากทำให้มีการ ขนถ่าย สินค้าอยู่เกือบตลอดเวลา เมื่อทำการเทียบเรือเรียบร้อยแล้ว ให้ทางเรือทำหนังสือ ในการขออนุญาตเข้าใช้ท่าเทียบเรือ ท่าเรือมีบริการรถจ่ายเสบียง ท่าเรือประจวบมีข้อห้าม ได้แก่ ห้ามเล่นกีฬาทุกประเภทบริเวณท่าเรือ ห้ามทิ้งขยะ ห้ามบุคคลภายนอกผ่าน – เข้าออกโดยไม่ได้รับอนุญาต

18. ความสัมพันธ์กับเจ้าหน้าที่ท่าเรือ มีความสัมพันธ์อันดีเนื่องจากมีการเล่นกีฬา เชื่อมสัมพันธ์กันบ่อยครั้ง เมื่อเรือเข้าจอด

ท่าเทียบเรือ ศรีบ้านเพ (Si Ban Phe Port)

ท่าเทียบเรือ ศรีบ้านเพ (Si Ban Phe Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย กองทัพเรือ



1. ท่าเทียบเรือศรี บ้านเพ

2. ๑. วันที่สำรวจ ๒. ลักษณะน้ำ / ลม / มาตราน้ำ / ข้างขึ้น - แรม ขณะน้ำขึ้น ความสูงน้ำ 2.0 เมตร จากระดับน้ำลงต่ำสุด ตรงกับ วันแรม 8 ค่ำ เดือน 1 ทะเลเรียบ ลมสงบ ๓. ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้องแผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 142, 116 ( อศ.) ข้อมูลท่าเรือท่าเรือเอกชน เจ้าของผู้ประกอบการ พ. ต. ท. หมื่นศรี ตำบลที่ท่าเทียบเรือศรีบ้านเพ จว. ระยอง แลต 12 องศา 37.1 ลิปดา น. ลอง 101 องศา 26.2 ลิปดา อ. พื้นท้องทะเลโคลน ที่หมายเวลากลางคืน ไม่มี

3. ท่าเทียบเรือศรี บ้านเพ Lat 12º 37.1´ N Long 101º 26.2´ E Lat 12º 36.65´ N Long 101º 26.2́ E บริเวณน้ำ ตื้น

4. ร่องน้ำบริเวณทุ่นนำร่องมีความลึกโดยเฉลี่ย 5-6 เมตรจาก ( เครื่องหยั่งน้ำ ) ที่ระดับน้ำขึ้น 2.31 เมตร ( น้ำขึ้นสูงสุด ) มีทุ่นไฟกำกับร่องน้ำ 2 คู่ ไม่มีหลักนำ ในการนำเรือเข้าร่องน้ำ ก่อนถึงท่าเรือให้ระมัดระวัง กระชังปลา บริเวณท่าเทียบจอดเรือมีความลึกเฉลี่ย 3 เมตร ( จากเครื่องหยั่งน้ำ ) ด้านทิศใต้ของท่าเรือมี ความลึกเฉลี่ย 2 เมตร ( จากเครื่องหยั่งน้ำ ) การกลับ ลำเข้าจอดที่ท่าเทียบเรือบริเวณด้านทิศใต้ควรที่จะเข้า ในช่วงน้ำขึ้นที่มากกว่า 1.6 เมตร ( ในสมุดมาตรน้ำ ) สามารถเดินเรือเพื่อเข้าไปเทียบท่าเรือได้ ถ้าน้อยกว่า นั้นควรหลีกเลี่ยงพื้นที่ดังกล่าว เนื่องจากบริเวณนั้นเป็น ที่น้ำตื้น เพราะอาจติดตื้นได้ ลักษณะท้องทะเลเป็น โคลน ท่าเรือเหมาะสมในการจอดช่วงเดือน พฤศจิกายน ถึง กลางเดือน มีนาคม

5. ท่าเทียบเรือศรี บ้านเพ ทุ่นไฟสี แดง ทุ่นไฟสี เขียว เบรกกัน คลื่น ทุ่นไฟนำ ร่อง

6. ทุ่นไฟสี แดง ท่าเทียบเรือศรี บ้านเพ กระชัง ปลา

7. ด้านทิศใต้เป็นบริเวณ พื้นที่น้ำตื้น ท้องทะเลเป็นโคลน

8. ท่าเทียบเรือศรี บ้านเพ

9. ท่าเรือศรีบ้านเพ ท่าเรือเพ ท่าเรือนวลทิพย์ หินใต้ น้ำ

10. ลักษณะของท่าเรือเป็นรูปตัว T ทอดยาวจากฝั่งลงไปในทะเล ยาว ประมาณ 150 เมตร บริเวณเทียบเรือหัวตัว T มีความยาวประมาณ 40 เมตร ความลึกน้ำรอบบริเวณท่าเทียบเรือโดยเฉลี่ย 3 เมตร น้ำลึกจริง เฉลี่ย 5 เมตร ( น้ำขึ้นสูงสุด ) ท้องทะเลเป็นโคลน ท่าเทียบเรือไม่มี ยางกันกระแทกผู้นำเรือต้องใช้ความระมัดระวังในการนำเรือเข้าเทียบ ท่าเทียบเรือศรีบ้าน เพ เบรกกัน คลื่น

11. ขณะนำเรือเข้าเทียบ ท่าจอดเรือ เข้าแนวตั้งฉากกับ ท่าเรือ

12. ท่าเรือไม่มีลูกยางกันกระแทก และให้ ระมัดระวังเสาปูนบริเวณที่เทียบเรือ

13. ก่อนถึงบริเวณท่าเทียบเรือควรนำเรือด้วยความ ระมัดระวังเพราะมีการจราจรทางน้ำค่อนข้างหนาแน่น เนื่องจากจะมีเรือ รับ – ส่ง นักท่องเที่ยวจำนวนมาก เดินทาง เข้า – ออก เพื่อไปยังเกาะเสม็ดตลอดทั้งวัน ตั้งแต่เวลาประมาณ ๐๘๐๐ – ๑๙๐๐ ของทุกวัน  - บริเวณใกล้กับท่าเทียบเรือจะมีกระชังปลา 1 คู่ บริเวณทิศตะวันออกของท่าเทียบเรือซึ่งเป็นอันตราย ต่อการนำเรือผู้นำเรือควรใช้ความระมัดระวังไม่ควรนำ เรือเข้าใกล้บริเวณกระชังปลาดังกล่าว  - ทางด้านทิศใต้ของท่าเทียบเรือเป็นพื้นที่น้ำตื่น ในช่วงของน้ำขึ้นที่มากกว่า 1.6 เมตร ( ในสมุดมาตร น้ำ ) สามารถเดินเรือเพื่อเข้าไปเทียบท่าเรือได้ ถ้า น้อยกว่านั้นควรหลีกเลี่ยงพื้นที่ดังกล่าว  - ท่าเทียบเรือไม่มียางกันกระแทกผู้นำเรือต้องใช้ ความระมัดระวังในการนำเรือเข้าเทียบเป็นพิเศษและ ควรเตรียมลูกตะเภาไว้เพื่อป้องกันการเสียหายที่อาจ เกิดขึ้นจากการกระแทกกับท่าเรือในกรณีที่มีคลื่นลม แรง

14. ๔. การติดต่อ วิทยุ ไม่มี โทรศัพท์ พ. ต. ท. หมื่นศรี ( เจ้าของผู้ประกอบการ ) ๐๘๑ - ๙๑๕๑๙๖๒ ๕. สิ่งอำนวยความสะดวก น้ำ รถน้ำเอกชนขนาดเล็กราคาตันละ 100 บาท ๐๘๔ - ๘๒๙๗๘๕๕ ไฟฟ้า ไม่มี โทรศัพท์ ไม่มี

ท่าเทียบเรือ อ่าวสลัด เกาะกูด ( Ao Salat Port)

ท่าเทียบเรือ อ่าวสลัด เกาะกูด ( Ao Salat Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.11



1. ท่าเทียบเรืออ่าว สลัด เกาะกูด

2. ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ๑. สำรวจโดย เรือ ต. ๑๑ วันที่ สำรวจ ๒๓ มิ. ย. ๕๔ ๒. ลักษณะน้ำ / ลม / มาตราน้ำ / ข้างขึ้น - แรม สำรวจ เวลา ๐๙๐๐ ขณะน้ำลง ความสูงน้ำ 1.1 เมตร จากระดับน้ำลง ต่ำสุด วัดความลึกน้ำจริงได้ 2.5 เมตร ตรงกับวันแรม 7 ค่ำ เดือน 7 ทะเลเรียบ ลมพัดเข้าหาท่าทิศ 270 ความเร็ว 3 นอต

3. ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ๓. ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้องแผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 151, 102, 045 ( อศ.) ตำบลที่ท่าเทียบเรืออ่าวสลัด เกาะ กูด แลต 11 องศา 42.47 ลิปดา น. ลอง 102 องศา 34.24 ลิปดา อ.

4. ภาพแสดงตำแหน่งท่าเทียบเรือ อ่าวสลัด ก. กูด เกาะ ช้าง เกาะ กูด

5. ๑. เข็ม 180 ใช้แหลม อ่าวสลัดเป็น HEAD MARK ๒. เข็ม 235 ระยะ 1200 หลา หินใต้น้ำเป็นอันตรายต่อ การนำเรือ การนำเรือเข้าเทียบท่าเทียบเรืออ่าวสลัด

6. แหลมอ่าวสลัด จุดสังเกต องค์พระพุทธประทีปฯ ขณะนำเรือเข็มตั้งตัว 180 จากแหลมอ่าวสลัด เสาโทรศัพท์สูง การนำเรือเข้าเทียบท่าเทียบเรืออ่าวสลัด

7. เมื่อเฉียดแหลมอ่าวสลัดระยะประมาณ 400 หลา เปลี่ยนไปถือเข็ม 235 ระยะประมาณ 1200 หลา ศาลเสด็จเตี่ย จุดสังเกตองค์พระพุทธประทีปฯ จุดเลี้ยวเพื่อเข้าเทียบ การนำเรือเข้าเทียบท่าเทียบเรืออ่าวสลัด

8. ขณะนำเรือถึงจุดเลี้ยวก่อนนำเรือเข้าเทียบโดยใช้กราบซ้าย ท่าเทียบเรือ การนำเรือเข้าเทียบท่าเทียบเรืออ่าวสลัด

9. ท่าเทียบ เรือ การนำเรือเข้าเทียบท่าเทียบเรืออ่าวสลัด

10. ท่าเรือไม่มียางกันกระแทก และไม่มีพุก สำหรับคล้องเชือก เชือกสำหรับ คล้องเชือก การนำเรือเข้าเทียบท่าเทียบเรืออ่าวสลัด

11. ท่าเทียบเรืออ่าวสลัด

12. ๔. ข้อมูลท่าเรือ เป็นท่าเรือติดกับฝั่ง หน้าท่ายาวประมาณ 80 เมตร กว้างประมาณ 2 เมตร  มีความลึกหน้าท่าเฉลี่ย 2.5 เมตร  ไม่มีพุกสำหรับคล้องเชือก และไม่มียางกัน กระแทก ( ใช้เชือกคล้อง )

13. ๕. การติดต่อสื่อสาร  วิทยุไม่มี  โทรศัพท์ ผู้ใหญ่นวล๐๘๑ - ๘๖๑๕๒๔๙ อบต. แดง๐๘๙ - ๒๔๑๘๘๔๙

14. ๖. สิ่งอำนวยความสะดวก ท่อน้ำจืด มี ไฟฟ้า ไม่มี โทรศัพท์ ไม่มี ไฟแสงสว่าง ไม่มี อื่นๆ บริเวณท่าเรือ มีร้านอาหาร, ร้านขาย ของชำ, ร้านขายผัก และเนื้อ, ร้านขายน้ำดื่ม ซึ่งสามารถจ่ายเสบียงเพิ่มเติมได้

15. ๖. สิ่งอำนวยความสะดวก ท่อน้ำจืด

16. ๖. สิ่งอำนวยความสะดวก ร้านขายของชำ ( สามารถจ่าย เสบียงได้ )

17. ๖. สิ่งอำนวยความสะดวก ร้านอาหาร

18. ข้อควรระมัดระวัง - ขณะนำเรือใช้เข็ม 180 โดยใช้แหลมอ่าวสลัด เป็น Head Mark ห้ามนำเรือตกขวา เนื่องจากทาง กราบขวามีหินใต้น้ำความลึก 0.7 ม. เป็นอันตรายต่อ การนำเรือ - ในบางครั้งท่าเทียบเรือจะมี เรือประมง หรือเรือ รับ – ส่ง นักท่องเที่ยว จอดอยู่ ให้ชักหวูดยาว 1 ครั้ง เพื่อให้สัญญาณให้เรือที่เทียบอยู่เลื่อนเรือให้เรือรบ เข้าเทียบ - ก่อนนำเรือออกจากเทียบ ให้ติดต่อกับเรือประมงที่ เทียบอยู่บริเวณท้ายเรือให้เลื่อนเรือเพื่อความ ปลอดภัยในการออกจากเทียบ - การนำเรือออกจากเทียบ ให้นำเรือถอยหลังให้ พ้นมุมท่าเรือ แล้วจึงกลับลำ ห้ามกลับลำในอ่าวสลัด เนื่องจากกลางอ่าว มีกลุ่มโพงพางและหินใต้น้ำ - ช่วงเดือน ต. ค. – ธ. ค. ของทุกปี จะเป็นช่วงฤดู มรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีลมพัดเข้าท่า ค่อนข้างแรง ผู้นำเรือควรใช้ความระมัดระวังในการนำ เรือเข้า และออกจากเทียบ

19. กลุ่มโพงพางและหินใต้น้ำบริเวณกลางอ่าวสลัด ข้อควรระมัดระวัง

20. ก่อนนำเรือออกจากเทียบ ให้ติดต่อกับ เรือประมงที่เทียบอยู่บริเวณท้ายเรือให้เลื่อน เรือเพื่อความปลอดภัยในการออกจากเทียบ

ท่าเทียบเรือ ปากน้ำท่าจีน (Paknam Tha Chin Port)

ท่าเทียบเรือ ปากน้ำท่าจีน (Paknam Tha Chin Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.81



1. ท่าเรือแม่น้ำท่าจีน

2. ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ๑.วันที่สำรวจ ๐๘๑๓๐๐ มิ. ย. ๕๔ ๒.ลักษณะน้ำ / ลม / มาตราน้ำ / ข้างขึ้น - แรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำ 4 เมตร จากระดับน้ำลงต่ำสุด ตรงกับ วันขึ้น 7 ค่ำ เดือน 7 ทะเลมีคลื่น เล็กน้อยเรียบ ลมสงบ

3. ๓. ข้อมูลการนำเรือที่ เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 222 แผนที่ประกอบร่องน้ำท่าจีน อ. เมือง จ. สมุทรสาคร ลักษณะพื้นท้องทะเลดินเหนียว ตำบลที่ร่องน้ำท่าจีน อ. เมือง จ. สมุทรสาคร ทุ่นไฟปากร่องแลต 13 องศา 25 ลิปดา น. ลอง 100 องศา 19 ลิปดา อ.

4. ตำบลที่ ร่องน้ำท่าจีน อ. เมือง จ. สมุทรสาคร

5. ภาพถ่ายดาวเทียม ร่องน้ำท่าจีน จ. สมุทรสาคร ท่าเรือสะพานปลา จ. สมุทรสาคร

6. ภาพแผนที่ 222 แสดงลักษณะ ร่องน้ำท่าจีน ท่าเรือสะพานปลา จ. สมุทรสาคร C-338 หลัก นำหน้า หลักนำ หลัง

7. ภาพแผนที่ 222 แสดงทุ่นไฟร่องน้ำ แม่น้ำท่าจีน

8. ลักษณะทุ่นไฟต่างๆ ทุ่นไฟปาก ร่อง หลัก นำหน้า หลักนำ หลัง

9. ภาพถ่ายร่องน้ำแม่น้ำท่าจีน จะสังเกตเห็นหลักนำหน้า ด้านหลังจะเป็นแทงค์สีขาว 2 แทงค์ ทางด้านซ้ายจะ เป็นสันดอนและมีทุ่นไฟสีแดงหมายเลข 10 อยู่ปลาย สันดอน

10. คำแนะนำการนำเรือเข้าร่องน้ำ ร่องน้ำแม่น้ำท่าจีนมีความยาวประมาณ 7.5 ไมล์ มีความกว้างของร่องน้ำประมาณ 300 หลา โดยการนำเรือเข้าร่องน้ำจะมีทุ่นไฟปาก ร่อง ( วับ - วาบ ทุก 6 วินาที มองเห็นไกล 7.1 ไมล์ ) และทุนไฟเขียว - แดงกำกับ การนำเรือเข้า ร่องน้ำใช้เข็ม 338 ซึ่งในช่วงผ่านทุ่นไฟปาก ร่องจะมองไม่เห็นหลักนำเนื่องจากอยู่ไกลและ ไม่สามารถมองเห็นหลักนำหลังเนื่องจากมีสิ่ง ปลูกสร้างบดบังจึงไม่สามารถใช้หลักนำหลังใน การนำเรือได้

11. ข้อควรระมัดระวัง ภายในร่องน้ำแม่น้ำท่าจีน จะมีเรือประมงและ เรือสินค้า ผ่านเข้าออกตลอดเวลา และมีสันดอน มองเห็นได้ชัดเจน ควรนำเรือในช่วงเวลาน้ำขึ้น ในร่องน้ำมีผักตบชวาจำนวนมากและอาจจะขยะ หรือท่อนไม้ติดอยู่ด้วยให้ใช้ความระมัดระวังใน การนำเรือ

12. สามารถใช้รูปปั้นเป็นจุดเล็งใน การนำเรือ วัดช่องลม

13. ท่าเทียบเรือที่สำคัญ ท่าเทียบเรือศาลา กลางจังหวัด ท่าเรือข้ามฝาก

14. ข้อมูลท่าเทียบเรือสะพานปลา จ. สมุทรสาคร สะพานปลา เป็นสะพานปลาที่ใหญ่ และทันสมัย แห่งหนึ่งรองจากกรุงเทพฯ อยู่ในเขตเทศบาล เมือง สมุทรสาคร มีอุปกรณ์อำนวยความสะดวก ที่ทันสมัย ที่ใช้ในการลำเลียงขนถ่ายผลิตภัณฑ์ สัตว์น้ำทางทะเล ทุกอย่าง เป็นจำนวนมาก เป็น ศูนย์กลางการค้าปลาทะเล เป็นแหล่งที่เงินตรา สะพัดหมุนเวียนวันละหลายล้านบาท อยู่ห่าง จากปากร่องประมาณ 4 ไมล์

15. การติดต่อ การติดต่อสื่อสาร ควรแจ้งสำนักงานฯ ล่วงหน้าก่อนเข้าเทียบ วิทยุไม่มี โทรศัพท์ สำนักงานสะพานปลา จ. สมุทรสาคร ๐๓๔ - ๔๑๑๖๔๗, ๐๓๔ - ๔๒๘๑๔๓, ๐๓๔ - ๔๒๒๘๐๓,Fax ๐๓๔ - ๘๒๐๓๒๐ สิ่งอำนวยความสะดวก - ไม่มีบริการน้ำและ ไฟ ความยาวท่าเรือ 160 เมตร ความลึกน้ำ 9 เมตร

16. ภาพถ่ายดาวเทียม แสดงตำบลที่ท่าเทียบเรือ สะพานปลา จ. สมุทรสาคร ท่าเทียบเรือสะพานปลา จังหวัดสมุทรสาคร สถานีตำรวจ น้ำ ศาลเจ้าพ่อ หลักเมือง

17. ภาพถ่ายท่าเรือสะพานปลา จ. สมุทรสาคร เสา คอนกรีต ผักตบช วา ความยาวท่าเรือ 160 เมตร

18. คำแนะนำและข้อระมัดระวังใน การเทียบเรือ กระแสน้ำขึ้น - ลง ค่อนข้างแรงโดยเฉพาะบริเวณ โค้งน้ำ บริเวณร่องน้ำและท่าเรือจะมีผักตบชวาจำนวน มากลอยมากับน้ำและมีขยะ ท่อนไม้ ซึ่งอาจจะ เป็นอันตรายต่อเรือ ใช้ความระมัดระวังในการนำเรือเนื่องจาก เรือประมงในพื้นที่อาจจะไม่หลบหลีกเรือตามกฎ การเดินเรือสากล

19. ภาพถ่ายบริเวณท่าเทียบเรือ

20. สำนักงานสะพานปลา จ. สมุทรสาคร

21. พุกและยางกันกระแทก

22. ข้อระมัดระวังในการเทียบเรือ บริเวณช่องเทียบหมายเลข 10 จะมีเสาคอนกรีตที่หักโผล่พ้นน้ำ และบริเวณด้านขวาสุดของท่าเรือจะมีเสาคอนกรีต

ท่าเทียบเรือ อ่าวตานิด เกาะหมาก (Ao Ta Nit Port)

ท่าเทียบเรือ อ่าวตานิด เกาะหมาก (Ao Ta Nit Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.11



1. ท่าเทียบเรืออ่าวตา นิด เกาะหมาก

2. ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ๑. สำรวจโดย เรือ ต. ๑๑ วันที่ สำรวจ ๒๒ พ. ค. ๕๔ ๒. ลักษณะน้ำ / ลม / มาตราน้ำ / ข้างขึ้น - แรม สำรวจเมื่อเวลา ๐๙๐๐ ขณะน้ำ ลง ความสูงน้ำ 0.8 เมตร จากระดับ น้ำลงต่ำสุด วัดความลึกน้ำจริงได้ 4 เมตร ตรงกับวันแรม 5 ค่ำ เดือน 6 ทะเลเรียบ ลมสงบ

3. ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ๓. ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้องแผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 151, 102, 045 ( อศ.) ตำบลที่ท่าเทียบเรืออ่าวตานิด เกาะ หมาก แลต 11 องศา 48.23 ลิปดา น. ลอง 102 องศา 29.31 ลิปดา อ.

4. ภาพแสดงตำแหน่งเกาะหมาก เกาะ ช้าง เกาะ กูด เกาะ หมาก

5. เข็ม 270 การนำเรือเข้าเทียบท่าเทียบเรืออ่าวตานิด - ควรใช้เข็ม 270 ในการเข้าเทียบ ห่างแหลม กระดุนด้านกราบขวาประมาณ 1000 หลา - การเทียบแนะนำให้ใช้กราบซ้ายในการเข้าเทียบ เนื่องจาก ด้านซ้ายของท่าเรือมีพื้นที่ในการตั้งตัว ให้เข้าเทียบมากกว่าด้านขวาของท่าซึ่งมีแนวหิน ใต้น้ำ

6. ท่าเทียบเรืออ่าวตานิด เข็มที่ใช้ในการเข้าเทียบควร ใช้เข็ม 270 ด้านขวาของท่าเรือมีแนว หินใต้น้ำ การนำเรือเข้าเทียบท่าเทียบเรืออ่าวตานิด

7. จุดเทียบเรือ ท่าเรือมีพุกสำหรับคล้องเชือก และยางกันกระแทก แต่ไม่สมบูรณ์ นัก

8. ลักษณะการเทียบและการคล้องเชือกหัวไกหัว

9. การคล้องเชือกท้ายไกท้าย

10. เป็นท่าเรือรูปตัว T ยาวประมาณ 250 เมตร หน้าท่ายาวประมาณ 50 เมตร กว้าง ประมาณ 15 เมตร  มีความลึกหน้าท่าเฉลี่ย 3 เมตร  มีพุกสำหรับคล้องเชือก และยางกันกระแทก ตลอดแนว ๔. ข้อมูลท่าเรือ

11. จุดสังเกตการนำเรือ ในเวลากลางคืน ไฟแสงสว่างสีส้ม บริเวณท่าเรือ

12. ท่าเรือถ่ายจากฝั่ง

13. ๕. การติดต่อสื่อสาร วิทยุไม่มี โทรศัพท์ นายก อบต. เกาะหมาก คุณ จักรพรรดิ ๐๘๙ - ๗๔๗๓๒๐๖ บริการรถเที่ยวรอบเกาะ คุณ วสันต์ ๐๘๒ - ๔๖๖๒๐๘๑

14. ๖. สิ่งอำนวยความสะดวก ท่อน้ำจืด ไม่มี ไฟฟ้า ไม่มี โทรศัพท์ ไม่มี ไฟแสงสว่าง มี อื่นๆ มีร้านขายผัก และเนื้อ ซึ่งสามารถจ่ายเสบียง เพิ่มเติมได้ โดยขับรถออกจากท่าเทียบเรือเลี้ยวขวาร้านค้า จะอยู่ห่างจากท่าเทียบเรืออ่าวตานิดประมาณ 1 กม. ใกล้ ท่าเรือมีสถานีอนามัย และวัดเกาะหมาก

15. ข้อควรระมัดระวัง  ด้านขวาของท่าเรือมีแนวหินใต้น้ำ ผู้นำ เรือควรใช้ความระมัดระวังในการนำเรือเข้า เทียบและออกจากเทียบ ควรเลือกใช้กราบ ซ้ายในการเข้าเทียบเพื่อความปลอดภัย จากแนวหินดังกล่าว  ยางกันกระแทกบริเวณเสาเหล็กหน้า ท่าเรือไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร บางต้นไม่มี ยางกันกระแทก ผู้นำเรือควรสั่งการให้ เตรียมลูกตะเพาให้พร้อมก่อนเข้าเทียบ

16. ข้อควรระมัดระวัง ท่าเทียบเรืออ่าว ตานิด แนวหินใต้น้ำทางขวาของ ท่าเรือ

ท่าเทียบเรือ อ่าวบังเบ้า เกาะช้าง ( Ao Bang Bao Port)

ท่าเทียบเรือ อ่าวบังเบ้า เกาะช้าง ( Ao Bang Bao Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.11



1. ท่าเทียบเรืออ่าวบัง เบ้า เกาะช้าง

2. ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ๑. สำรวจโดย เรือ ต. 11 วันที่ สำรวจ ๑๖ พ. ค. ๕๔ ๒. ลักษณะน้ำ / ลม / มาตราน้ำ / ข้างขึ้น - แรม สำรวจเวลา ๑๑๐๐ ขณะน้ำขึ้น ความสูงน้ำ ๑. ๓ เมตร จากระดับน้ำลง ต่ำสุด วัดความลึกน้ำจริงได้ ๔ เมตร ตรงกับวันขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือน ๖ ทะเล เรียบ ลมพัดเข้าหาท่าทิศ ๑๗๐ ความเร็ว ๒ นอต

3. ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ๓. ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้องแผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 151, 120, 102, 045 ( อศ.) ตำบลที่ท่าเทียบเรืออ่าวบังเบ้า เกาะ ช้าง จว. ตราด แลต 11 องศา 58.02 ลิปดา น. ลอง 102 องศา 19.00 ลิปดา อ.

4. ภาพแสดงตำแหน่งท่าเทียบเรืออ่าวบังเบ้า เกาะ ช้าง อ่าว บังเบ้า

5. - เข็มที่ใช้ในการเข้าเทียบควรใช้เข็ม 290 - ท่าเรือเป็นลักษณะรูปตัว Y ความยาวประมาณ 500 เมตร กว้างหน้าท่า ด้านละ 50 เมตร เข็ม 290 การนำเรือเข้าเทียบท่าเทียบเรืออ่าวบังเบ้า

6. ท่าเทียบเรืออ่าวบังเบ้า เข็มที่ใช้ในการเข้าเทียบควร ใช้เข็ม 290 ด้านขวามีกลุ่มซั้งจำนวน มาก หลักนำประภาคารสีขาวสูง 15 เมตร การนำเรือเข้าเทียบท่าเทียบเรืออ่าวบังเบ้า

7. ถวายความเคารพศาล เสด็จเตี่ย ทางกราบซ้าย ก่อนถึงท่าเทียบเรืออ่าว บังเบ้า การนำเรือเข้าเทียบท่าเทียบเรืออ่าวบังเบ้า

8. ท่าเรือมีพุกสำหรับคล้องเชือก และยางกันกระแทกตลอด แนว การนำเรือเข้าเทียบท่าเทียบเรืออ่าวบังเบ้า

9. การนำเรือใช้กราบ ซ้ายเข้าเทียบ การนำเรือใช้กราบ ขวาเข้าเทียบ ฝั่ง

10. ลักษณะการเทียบและการคล้องเชือกหัวไกหัว

11. การคล้องเชือกท้ายไกท้าย

12. ๔. ข้อมูลท่าเรือ  เป็นท่าเรือรูปตัว Y ยาวประมาณ 500 เมตร หน้าท่ายาวด้านละประมาณ 50 เมตร กว้างประมาณ 7 เมตร  มีความลึกหน้าท่าเฉลี่ย 4 เมตร  มีพุกสำหรับคล้องเชือก และยางกันกระแทก ตลอดแนว

13. ไฟไซเรนสีส้มบน ประภาคาร เปิดตั้งแต่ เวลา พระอาทิตย์ตก – 0100 ไฟแสงสว่างสีขาว บริเวณท่าเรือ จุดสังเกตการนำเรือ ในเวลากลางคืน

14. ท่าเรือถ่ายจากฝั่ง

15. ๕. การติดต่อสื่อสาร  วิทยุไม่มี  โทรศัพท์ ผู้ใหญ่มานพ๐๘๗ - ๐๘๔๔๔๐๔

16. ๖. สิ่งอำนวยความสะดวก ท่อน้ำจืด ไม่มี ไฟฟ้า ไม่มี โทรศัพท์ ไม่มี ไฟแสงสว่าง มี อื่นๆ บริเวณ 2 ข้างทางเดินของท่าเรือ มี ร้านค้าหลากหลายให้บริกการอาทิเช่น ร้านอาหารทะเล, ร้านกาแฟสด, ร้าน อินเตอร์เน็ต, ร้านขายของที่ระลึก, ร้านขาย ผัก และเนื้อ ซึ่งสามารถจ่ายเสบียงเพิ่มเติม ได้ รวมไปถึงร้านสะดวกซื้อ 7 - Eleven

17. ข้อควรระมัดระวัง  ก่อนถึงบริเวณท่าเทียบเรือควรนำเรือด้วยความ ระมัดระวังเพราะมีการจราจรทางน้ำค่อนข้างหนาแน่น เนื่องจากจะมีเรือ รับ – ส่ง นักท่องเที่ยวจำนวนมาก เดินทาง เข้า – ออก ท่าเทียบเรือตลอดทั้งวัน ตั้งแต่ เวลาประมาณ ๐๘๐๐ – ๑๗๐๐ ของทุกวัน บริเวณใกล้กับท่าเทียบเรือกลุ่มซั้ง ทางกราบขวา การ นำเรือผู้นำเรือควรใช้ความระมัดระวัง  ปลายท่าเรือ มีลักษณะเป็นรูปตัว Y ผู้นำเรืออาจเกิด การสับสนในการนำเรือเข้าเทียบ ให้สังเกต ลักษณะท่า เทียบเรือจากหน้าจอเรดาร์ในระยะใกล้ ประกอบกับการ มองด้วยสายตา เพื่อตัดสินใจในการนำเรือเข้าเทียบท่า

ท่าเทียบเรือ ดอนสัก แหลมทวด (Don Sak Port)

ท่าเทียบเรือ ดอนสัก แหลมทวด (Don Sak Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.993



1. ๑. วันที่สำรวจ  พ. ค. 54 โดย เรือ ต.993  ๒. ลักษณะกระแสน้ำ / กระแสลม / ข้างขึ้น - ข้างแรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำโดยเฉลี่ยบริเวณ เส้นทางเดินเรือเข้าสู่ท่าเทียบเรือ 3 เมตร หักลงหาระดับน้ำลง ต่ำสุด ( ความสูงน้ำจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ) กระแสน้ำขึ้นไหล ไปในทิศ 310 ความเร็ว 1.4 นอต น้ำลงไหลไปในทิศ 130 ความเร็ว 1.3 นอต ๓. ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง ๓. ๑ ระวางแผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่เดินเรือไทย ( กรมอุทก ศาสตร์ กองทัพเรือ ) หมายเลขระวาง 204, 261 ๓. ๒ ตำบลที่ ท่าเทียบเรืออเนกประสงค์ดอนสัก แหลมทวด อ. ดอน สัก จ. สุราษฎร์ธานี ๓. ๓ ข้อมูลทั่วไปทางภูมิศาสตร์ ท่าเทียบเรืออเนกประสงค์ดอนสัก ( แหลมทวด ) ตั้งอยู่ระหว่าง อ่าวดอนสักและอ่าวบางน้ำจืด อ. ดอนสัก จ. สุราษฎร์ธานี แหลม ทวด (Lat 9 o 20’N Long 99 o 41’E) ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือของอ่าวดอนสักเป็นบริเวณที่ตั้งของท่าเทียบ เรืออเนกประสงค์ โดยมีกระโจมไฟเกาะปาลิกัน (Fl 3s 32m 8M) เป็นที่หมายสำคัญในการเดินเรือ ระยะ 1 ไมล์ ทางทิศเหนือของ แหลมทวด ความลึกน้ำเฉลี่ยบริเวณปลายแหลมทวด 2.5 - 3.5 เมตร ลักษณะพื้นท้องทะเลเป็นทรายปนโคลน

2. ท่าเรืออเนกประสงค์ดอนสัก ( แหลมทวด )

3 ๓. ๕ ข้อมูลท่าเทียบเรือ ท่าเทียบเรืออเนกประสงค์ดอนสัก ( แหลมทวด ) ดูแลโดยเทศบาล ตำบลดอนสัก จ. สุราษฎร์ธานี ท่าเทียบเรือมีลักษณะรูปตัว W ความยาวของท่าเทียบเรือจากฝั่งประมาณ 200 เมตร บริเวณปลาย สะพานประกอบด้วยท่าเทียบเรือยื่นออกสู่ทะเลความยาว 50 เมตร จำนวน 3 ท่าเทียบ ท่าเทียบเรือหมายเลข 1 และ 2 เป็นท่าเทียบ เรือโดยสาร ความลึกน้ำโดยเฉลี่ยบริเวณท่าเทียบเรือ 5 - 8 เมตร ลักษณะพื้นท้องทะเลเป็นโคลน เดิมเป็นท่าเรือโดยสารข้ามฟาก (Ferry Pier) ของบริษัทซีทราน เฟอร์รี่ แต่ปัจจุบันได้ยกเลิก สัมปทานใช้งาน คงมีเฉพาะเรือโดยสารข้ามฟากความเร็วสูง ให้บริการรับ - ส่งผู้โดยสาร จากท่าเทียบเรือดังกล่าวไปยังสถานที่ ท่องเที่ยวต่าง ๆ ส่วนท่าเทียบเรือหมายเลข ๓ ปัจจุบันเป็นที่จอด เรือสินค้าและเรือบรรทุกน้ำมัน ท่าเทียบเรือมียางกันกระแทกขนาด ใหญ่รองรับการเข้า - ออกจากเทียบ ลักษณะท่าเรือ น้ำลึก 2.5 เมตร ลักษณะพื้นท้องทะเล โคลน

4. ท่าเรืออเนกประสงค์ดอนสัก ( แหลมทวด )

5. ๔ การติดต่อสื่อสาร การติดต่อระหว่าง เรือ - เรือ Marinetime Band ช่อง 16 นามเรียกขานใช้ ชื่อเรือ การประสานสำนักงานท่าเทียบเรืออเนกประสงค์ดอนสัก ( แหลมทวด ) คุณสมยศ ๐๘๙ - ๗๓๑๑๕๔๘ ๕. สิ่งอำนวยความสะดวก ท่อน้ำ ต่อสายยางขนาดเล็ก ( ประสานเจ้าหน้าที่ ประจำ สำนักงานท่าเรือ ) ไฟฟ้า๒๒๐ Volt ( เฉพาะไฟแสงสว่าง ) โทรศัพท์ไม่มี ท่าเรืออเนกประสงค์ดอนสัก ( แหลมทวด )

ท่าเทียบเรือ เกาะเสม็ด (Ko Samet Port)

ท่าเทียบเรือ เกาะเสม็ด (Ko Samet Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย กองทัพเรือ



1. ท่าเทียบเรือเกาะ เสม็ด

2. การสำรวจบริเวณท่าเทียบเรือ เกาะเสม็ด จ. ระยอง ๑. วันที่สำรวจ ๒. ลักษณะน้ำ / ลม / มาตราน้ำ / ข้างขึ้น - แรม ขณะน้ำกำลังลง ความสูงน้ำ 1.9 เมตร จากระดับน้ำลง ต่ำสุด ตรงกับ วันแรม 4 ค่ำ เดือน 12 ทะเลเรียบ ลมสงบ ๓. ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 045,141,116 ( อศ.) ตำบลที่ท่าเทียบเรือเกาะเสม็ด จ. ระยอง แลต 12 องศา 34.52 ลิปดา น. ลอง 101 องศา 27.72 ลิปดา อ. ทุ่นไฟปากร่องไม่มี พื้นท้องทะเลทรายปนโคลน ที่หมายเวลากลางคืน ไม่มี

3. ท่าเทียบเรือ เกาะเสม็ด Lat 12º 34.52́ N Long 101º 27.72́ E

4. เกาะ เสม็ด ท่าเทียบเรือเกาะ เสม็ด

5. ลักษณะท่าเรือ ลักษณะของท่าเรือเป็นรูปตัว I ทอดยาวจากฝั่งลงไปในทะเล ท่าเรือมีความยาวประมาณ 80 เมตร มีความลึกน้ำโดยเฉลี่ย 4.5 เมตร น้ำลึกจริง 6.4 เมตร กลางท่าเรือน้ำลึก 2 เมตร ทางเข้าท่าเรือไม่มีทุ่นไฟ หรือที่หมายการนำเรือที่เห็นเด่นชัด ด้านซ้ายของท่าเรือ ( เมื่อหันหน้าเข้าหาท่าเรือ ) เป็นแหลมซึ่ง มีหินเป็นอันตรายต่อการนำเรือ ปัจจุบันกำลังปรับปรุงสร้างท่าเรือ เพิ่มเติม โครงการปรับปรุงสร้าง ท่าเรือเพิ่มเติม

6. ท่าเทียบเรือเกาะเสม็ด เข็มที่ใช้ในการเข้าเทียบควร ใช้เข็ม 140 - 160 ด้านซ้ายของท่าเป็นแหลม มีแนวหิน

7. บริเวณท่าเทียบ เรือเกาะเสม็ด จุดสังเกต มีเสา โทรศัพท์สูง 2 ต้น มีเรือประมง และ เรือโดยสารจอด อยู่เป็นประจำ

8. จุดเทียบเรือ บริเวณท่าเรือมียาง กันกระแทก

9. การคล้องเชือกหัวและไกหัว

10. การคล้องเชือกท้าย, ไกท้าย และกันถ่าง

11. ท่าเรือถ่ายจากฝั่ง

12. ข้อควรระมัดระวัง  ก่อนถึงบริเวณท่าเทียบเรือควรนำเรือด้วยความ ระมัดระวังเพราะมีการจราจรทางน้ำค่อนข้าง หนาแน่นเนื่องจากจะมีเรือ รับ–ส่ง นักท่องเที่ยวจำนวนมาก เดินทาง เข้า–ออก ท่าเทียบเรือ ตลอดทั้งวัน ตั้งแต่เวลาประมาณ 08:00 – 16:30 ของทุกวัน  บริเวณกลางท่าเทียบเรือจะเป็นบริเวณน้ำตื้นที่มี มีความลึกน้ำประมาณ 2 เมตร เป็นอันตรายต่อการ นำเรือที่มีความลึกน้ำเกินกว่า 2 เมตร ขึ้นไป ผู้นำเรือควรใช้ความระมัดระวังไม่ควรนำเรือเข้าใกล้ บริเวณเขตน้ำตื้น ดังกล่าว  ก่อนถึงท่าเทียบเรือประมาณ 1 ชั่วโมง ให้โทร ประสานกับ นายก อบต. เกาะเสม็ด เพื่อประสานเรื่องการจองท่าเรือ ให้พร้อมเข้าเทียบ เนื่องจาก จะมีเรือรับ–ส่งผู้โดยสารเทียบอยู่ตลอดเวลา

13 ๔. การติดต่อ วิทยุ ไม่มี โทรศัพท์  ๕. สิ่งอำนวยความสะดวก น้ำ มีรถน้ำจืดให้บริการบนเกาะเสม็ด ราคา น้ำจืดตันละ 300 บาท ไฟฟ้า ไม่มี โทรศัพท์ ไม่มี

ท่าเทียบเรือ ปากน้ำปราณ (Estuary Paknampran Port)

ท่าเทียบเรือ ปากน้ำปราณ (Estuary Paknampran Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย กองทัพเรือ



1. ร่องน้ำปราณบุรี

2. ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ๑. วันที่สำรวจ 16 ก. ค. 54 ๒. ลักษณะน้ำ / ลม / มาตราน้ำ / ข้างขึ้น - แรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูง น้ำ 2.6 เมตร จากระดับน้ำลงต่ำสุด ตรง กับ วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ทะเลเรียบ ลมสงบ

3. ๓. ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้อง - แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 246 ( อศ.) - แผนที่ประกอบร่องน้ำปราณบุรี อ. ปราณ บุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์ ( สำนักงานการ ขนส่งทางน้ำที่ ๓ สาขา ประจวบคีรีขันธ์ ) ตำบลที่ - ร่องน้ำปราณบุรี อ. ปราณบุรี จ. ประจวบคีรีขันธ์ ทุ่นไฟปากร่องแลต 12 องศา 25.069 ลิปดา น. ลอง 99 องศา 59.792 ลิปดา อ.

4. ท่าเทียบเรือ ตำรวจน้ำ สันทราย ทุ่นปากร่อง Lat 12º ́ N Long 99º ́ E C-213

5. ทุ่นไฟปากร่อง

6. การนำเรือเข้าเทียบ / ออกจากเทียบเมื่อถึง บริเวณทุ่นไฟปากร่อง นำเรือเข้าปากน้ำปราณบุรี โดยมีหลักนำในการนำเรือเข้าร่องน้ำ จำนวน 1 คู่ เข็มหลักในการนำเรือเข้าร่องน้ำ คือ เข็ม 213 ระยะทางประมาณ 800 หลา แล้วนำเรือเลี้ยวตาม โค้งซ้าย ระยะทางประมาณ 100 หลา เพื่อเข้า ไปท่าเรือตำรวจน้ำปราณบุรี โดยให้ระมัดระวัง ทางด้านกราบซ้ายซึ่งมีระดับน้ำตื้น เนื่องจากมีสัน ทรายยื่นออกมาในแม่น้ำ สำหรับตำบลที่ในการ เทียบเรือ เรือ ตกฝ. ควรกลับลำเทียบเพื่อ สะดวกในการออกเรือ บริเวณท่าเรือด้านทิศใต้ เนื่องจากน้ำลึกมากกว่า ส่วนเรือ ตกช. สามารถ เข้าเทียบได้ตลอดแนวท่าเรือ โดยให้ระมัดระวัง เรือประมงขนาดเล็ก ที่จอดในบริเวณใกล้เคียง

7. แนวเขื่อนกันคลื่นฝั่งซ้ายแนวเขื่อนกันคลื่นฝั่งขวา ทุ่นไฟปากร่อง หลักนำ เข็มเข้าร่องน้ำ 213

8. ร่องน้ำกว้าง 60 เมตร

9. หลักนำหน้าหลักนำหลัง

10. แนวเขื่อนกันคลื่นและไฟกำกับร่องน้ำฝั่งซ้าย แนวเขื่อนกันคลื่นและไฟกำกับร่องน้ำฝั่งขวา

11. ไฟกำกับร่องน้ำฝั่งซ้ายคู่ที่ 2 ไฟกำกับร่องน้ำฝั่งขวาคู่ที่ 2

12. ท่าเรือสถานีตำรวจน้ำปราณบุรี

13. ลักษณะท่าเรือ ท่าเรือตำรวจน้ำ ปราณบุรีมีความลึก ประมาณ 2.5 – 4 เมตร ท่าเรือเป็นคอนกรีต รูปตัว T ขนาดโดยประมาณ กว้าง 1.5 เมตร ยาว 40 เมตร พื้นท้องทะเลโคลน

14. ข้อควรระมัดระวัง ก่อนที่จะเลี้ยวซ้าย เข้าจอดที่ท่าเรือตำรวจน้ำ ฯ จะมีสัน ทรายยื่นลงไปในน้ำ มีเรือประมงขนาด เล็กและใหญ่จำนวนมากสัญจรในร่องน้ำ รวมถึงจอดเรือบริเวณชายฝั่ง ในขณะนำ เรือต้องใช้ความระมัดระวังเป็นพิเศษ และในขณะคลื่นลมแรง จะมีเรือประมง ขนาดต่างๆ จอดบริเวณเขื่อนกันคลื่น และชายฝั่ง โดยเรือประมงลากคู่ มักจะ ทิ้งสมอในช่องระหว่างแนวเขื่อนกันคลื่น

15. ข้อควร ระมัดระวัง ขณะคลื่นลมแรง เรือประมงจะเข้าหลบคลื่นในบริเวณปากน้ำ เรือประมงเล็ก

16. เรือประมงเล็กฝั่งกราบซ้าย เรือประมงเล็กฝั่งกราบขวา ข้อควรระมัดระวัง

17. ๔. การติดต่อ วิทยุไม่มี โทรศัพท์สถานีตำรวจน้ำปราณบุรี ๐๓๒ - ๖๓๑๒๔๓

18. ๕. สิ่งอำนวยความสะดวก ท่อน้ำต่อสายยางขนาดเล็กจาก สถานีตำรวจน้ำ ไฟฟ้าไฟฟ้า 220 โวลท์ ( เฉพาะไฟฟ้าแสงสว่าง ) โทรศัพท์ไม่มี

ท่าเทียบเรือเขาหมาจอ สัตหีบ (Estuary khaomacho Port)

ท่าเทียบเรือเขาหมาจอ สัตหีบ (Estuary khaomacho Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย กองทัพเรือ



1. ท่าเทียบเรือเขาหมา จอ

2. ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง  วันที่สำรวจ 19 ก. ค. 54 โดยทางบก 2. ลักษณะน้ำ น้ำขึ้น - ลงพัดขนานท่า

3. ข้อมูลการนำเรือที่ เกี่ยวข้อง  แผนที่ที่เกี่ยวข้องแผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 115 ตำบลที่ท่าเทียบเรือเขาหมาจอ อ. สัตหีบ จ. ชลบุรี  แลต 12 องศา 35.9 ลิปดา น.  ลอง 100 องศา 56.7 ลิปดา อ.  ทุ่นไฟปากร่องไม่มี

4. ท่าเทียบเรือ เขาหมาจอ Lat 12º 35.9́ N Long 100º 56.7́ E ภาพแสดงตำแหน่งท่าเทียบเรือ เขาหมาจอ

5. ข้อมูลท่าเรือ  ลักษณะท่าเรือท่าเทียบเรือเขาหมาจอ เป็นท่าเรือที่ใช้ในการ รับ – ส่งกำลังพล ไปยัง เกาะแสมสาร เป็นคอนกรีตทอด ยาวจากฝั่งลงไปในทะเล บริเวณหน้า ท่าเรือมีความยาวประมาณ ๕๐ เมตร กว้าง ๕ เมตร มีความลึกน้ำโดยเฉลี่ย ๓ เมตร ทางเข้าท่าเรือไม่มีทุ่นไฟ หรือที่ หมายการนำเรือที่เห็นเด่นชัด

6.ลักษณะท่าเทียบเรือ

7. ลักษณะการเทียบ

8. สิ่งอำนวยความสะดวก (FACILITYS) เสบียง สามารถจัดหาที่ช่องแสมสาร

9. สิ่งอำนวยความสะดวก

10. ท่าเรือถ่ายจากฝั่ง

ท่าเทียบเรือ ร่องน้ำคุระบุรี (Estuary Khuraburi Port)

ท่าเทียบเรือ ร่องน้ำคุระบุรี (Estuary Khuraburi Port)


ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.96



1. ท่า เทียบ เรือ C- 110 C- 141 C- 110 ท่าเทียบเรือประมง อ. คุระบุ รี จ. พังงา เกาะรา ( รา ) เกาะ จง

2. วันที่สำรวจ 30 เม. ย. 54 โดย เรือ ต. 96 ลักษณะน้ำ / ลม / มาตราน้ำ / ข้างขึ้น - แรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำ 3. 8 เมตร จากระดับน้ำลงต่ำสุด ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๕ ทะเลมีคลื่นเล็กน้อย ความเร็วลม 5 - 6 น็อต ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง

3. ข้อมูลการนำเรือที่เกี่ยวข้อง แผนที่ที่เกี่ยวข้อง แผนที่ 332 เกาะพระทอง ตำบลที่ ท่าเทียบเรือประมง อ. คุระบุรี จ. พังงา ทุ่นไฟปากร่อง ไม่มี

4. ท่า เทียบ เรือ C- 110 C- 141 C- 110 เกาะรา ( รา ) เกาะ จง

5. การนำเรือเข้าเทียบ / ออกจากเทียบ เข็มเข้าเข็มแรก ( แดง ) ถือเข็ม 110 นำเรือเฉียดปลายด้าน ทิศเหนือของ ก. รา ประมาณ 1000 หลา ถือเข็มนี้ไปจนแบริ่ง ปลาย ก. รา ได้ 250 ระยะ 1600 หลา จึงเปลี่ยนไปถือเข็ม ใหม่ เข็มที่สอง ( เหลือง ) ถือเข็ม 141 ใช้เกาะจงเป็น HEADMARK ซึ่งถ้าไม่สามารถมองเห็นเกาะจงได้ ให้ใช้การ รักษาระยะจากเกาะราเป็นหลัก เมื่อห่างจากเกาะจง ประมาณ 1.2 ไมล์ให้เปลี่ยนไปถือเข็มประมาณ 110 หรือประมาณท้าย เรือเกือบจะตรงกับบ้านหลังคาแดงบนเกาะรา ให้พยามนำเรือ ชิดขอบฝั่งทางด้านซ้ายไว้จะปลอดภัยอย่านำเรือกลางร่องเป็น เด็ดขาดเนื่องจากมีที่ตื้น ( สันทรายกลางร่อง ) ระยะเฉียดประมาณ 40 - 80 หลา แต่ไม่ต้องชิดซ้ายมากนัก เนื่องจากปลายแหลม ตามรูปที่ 1 มีสันทรายยื่นออกมาสังเกตได้จากรูป เมื่อพ้นปลาย แหลมแล้วจึงนำเรือชิดซ้ายตามที่กล่าวไว้ เมื่อนำเรือได้เกือบ ครึ่งทางจะสังเกตเห็นทางฝั่งซ้ายจะมีเนินเขาตาม ซึ่งเมื่อถึง บริเวณนี้ให้ระลึกเสมอว่าถ้าที่เรือตกไปทางขวาจะเกิดอันตราย มากเนื่องจากเป็นบริเวณที่มีสันทรายอยู่ ระยะเฉียดบริเวณนี้ ควรเฉียดขอบฝั่งอย่างน้อยประมาณ 40 หลา หลังจากนั้นจะพบ คลองแยกไปทางซ้ายมือ บริเวณนี้ให้ระมัดระวังที่ตื้นบริเวณ ปากคลองควรจะเปลี่ยนเข็มไปทางขวาเล็กน้อยเพื่อหลบที่ตื้น บริเวณปากคลองดังกล่าว และจะมองเห็นท่าเทียบเรือประมงอยู่ ตรงหัวเรือ

6. สัน ทราย

7. เกาะจง

8. บ้าน หลังคา แดง

9. เนินเขาอยู่บนฝั่งทางซ้าย ของร่องขาเข้า

10. คลองทางด้านซ้ายมือ

11. ท่าเทียบ เรือ

12. ข้อแนะนำในการเข้าร่องน้ำคุระบุรี ท่าเทียบเรือประมง เรือ ตกฝ. ตกช. ควรนำเรือเข้าเทียบเฉพาะ ในช่วงที่ระดับน้ำขึ้นสูงเท่านั้น ร่องน้ำช่วงนำ เรือเข้าระดับน้ำจะลึกแต่พอนำเรือไปจนถึง ช่วงก่อนที่จะเข้าเทียบท่าเรือน้ำจะตื้น ประมาณ 2-3 เมตร  ในร่องน้ำไม่มีทุ่นไฟแสดงขอบเขตของร่องน้ำ  ในช่วงที่มีคลื่นลมแรงให้ระมัดระวังเรือประมง ที่เข้ามาทอดสมอหลบอยู่หลัง ก. รา  ระวังกระแสน้ำในช่วงน้ำขึ้นน้ำลงที่มีกำลัง ค่อนข้างแรงซึ่งมีผลต่อการนำเรือเข้าเทียบ

13. ตกฝ., ตกช., สามารถจอดเทียบได้  สามารถจอดเทียบได้ทั้งเวลาน้ำขึ้นและน้ำ ลง น้ำลึกบริเวณท่าเรือประมาณ 2.5 เมตร  ไม่สะดวกในการจอดเทียบเป็นเวลานาน เนื่องจากเป็นท่าเรือประมงจะมีเรือประมง เข้าและออกอยู่ตลอดเวลา จึงต้องทำการ เลื่อนเรืออยู่เสมอ  ใช้จอดเทียบเพื่อหลบคลื่นลมในเวลาที่ คลื่นลมแรง  เมื่อนำเรือถึงท่าเทียบท่าเรือประมงก่อนที่ จะเข้าเทียบ ให้นำเรือขนานกับหลักนำ ห่างจากหลักนำอย่างน้อย 50 หลา

14. การติดต่อสื่อสาร - ไม่มี  สิ่งอำนวยความสะดวก - ระบบไฟฟ้าไม่มี - ระบบประปาไม่มี - น้ำมันเชื้อเพลิงไม่มี

ท่าเทียบเรือ ร่องน้ำปากน้ำชุมพร (Estuary Chumporn Port)

ท่าเทียบเรือ ร่องน้ำปากน้ำชุมพร (Estuary Chumporn Port)

ข้อมูลร่องน้ำ และท่าเทียบเรือ สำรวจโดย เรือ ต.81


1. เรือ ต. 81

2. ตำบลที่อ่าวชุมพร จ. ชุมพร แผนที่ที่เกี่ยวข้องแผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 255 ( อศ ) แผนที่เดินเรือไทย หมายเลข 225 ( อศ ) ลักษณะพื้นท้องทะเลโคลน ลักษณะน้ำ / ลม / มาตราน้ำ / ข้างขึ้น - แรม ขณะน้ำขึ้นสูงสุดและทรงตัว ความสูงน้ำ 3.5 เมตร ตรงกับวันขึ้น 7 ค่ำ เดือน 7 ทะเลมีคลื่น เล็กน้อยเรียบ ลมสงบ

3. ภาพแผนที่แสดงตำบลที่ ท่าเรือ ท่าเรือส่งเสริม ปากน้ำชุมพร

4. ภาพถ่ายดาวเทียม แสดงตำบลที่ท่าเรือ ท่าเรือส่งเสริม ปากน้ำชุมพร

5. แผนที่ 225 อ่าวชุมพร ร่องน้ำปากน้ำ ชุมพร เกาะมัต โพน ปากน้ำชุมพรอยู่ทางด้านใต้ ของอ่าวชุมพร แผนที่ 225 อ่าวชุมพร

6. แผนที่แสดงข้อมูลร่องน้ำ ทุ่นไฟปากร่อง FI.3s7.2M หลักนำ A หลักนำ B C-230 กระโจมไฟ เกาะมัตโพน L FI.WR.7s47m1 6,8M ท่าเรือส่งเสริม

7. ภาพถ่ายดาวเทียมปากน้ำชุมพร ท่าเรือ ส่งเสริม กระโจมไฟ เกาะมัตโพน L FI.WR.7s47m1 6,8M C-230 แนวเขื่อนกัน คลื่น อ่าว ชุมพร

8. ทุ่นไฟปากร่อง FI.3s7.2M

9. กระโจมไฟ เกาะมัตโพน L FI.WR.7s47m1 6,8M แนวเขื่อนกัน คลื่นฝั่งซ้าย แนวเขื่อนกัน คลื่นฝั่งขวา เข็มเข้าร่อง น้ำ 230 ร่องน้ำกว้าง 180 หลา

10. แนวเขื่อนกันคลื่นและไฟปลายเขื่อนซ้ายแนวเขื่อนกันคลื่นและไฟปลายเขื่อนขวา

11. ไฟกำกับร่องน้ำฝั่งซ้ายหลักนำ การนำเรือเข้าร่อง น้ำชุมพร การนำเรือเข้าร่องน้ำชุมพร ใช้เข็ม 230 โดยมี หลักนำช่วยในการนำเรือ ระยะทางประมาณ 1800 หลาจากทุ่นไฟปากร่อง ร่องน้ำกว้าง 140 หลา

12. เมื่อเปลี่ยนเข็มมาทางซ้ายจะมองเห็นท่าเรือมีหลังคาสีส้ม ทางกราบซ้ายน้ำจะตื้นกว่ากราบขวา ควรนำเรือให้อยู่บริเวณ กึ่งกลางร่อง ท่าเรือ ลักษณะท่าเรือทาง กราบซ้าย ลักษณะร่องน้ำทาง กราบขวา 

13. ลักษณะท่าเทียบเรือ ท่าเรือส่งเสริมมีความสูง ประมาณ 4 เมตร ท่าเรือเป็น คอนกรีต ไม่มียางกันกระแทก มีเฉพาะเสาต้นมะพร้าว ท่าเรือ ลักษณะรูปตัว T ขนาดโดยประมาณ กว้าง 4 เมตร ยาว 25 เมตร ต้นมะพร้าวสำหรับกัน กระแทก

14. ลักษณะ ท่าเรือ

15. การนำเรือเข้าเทียบ / ออกจากเทียบ เมื่อถึงบริเวณทุ่นไฟปากร่อง นำเรือเข้าปากน้ำ ชุมพร ร่องน้ำกว้างประมาณ 140 หลา โดยมีหลักนำ ในการนำเรือเข้าร่องน้ำ จำนวน 1 คู่ เข็มหลักในการนำ เรือเข้าร่องน้ำ คือ เข็ม 230 ( เข็มออกคือ 050 ) ระยะทางประมาณ 1800 หลาจากทุ่นไฟปากร่อง แล้ว นำเรือเลี้ยวตามโค้งซ้าย ระยะทางประมาณ 600 หลา เพื่อเข้าไปท่าเรือส่งเสริม โดยให้ระมัดระวังทางด้าน กราบซ้ายซึ่งมีระดับน้ำตื้น สำหรับตำบลที่ในการเทียบ เรือ เรือ ตกฝ. ควรนำเรือเข้าในช่วงเวลาน้ำขึ้นสูงสุด และควรระมัดระวังเรือประมงขนาดเล็ก ที่จอดในบริเวณ ใกล้เคียง กระแสน้ำขึ้น - ลง ค่อนข้างแรง

16. ลักษณะการเทียบเรือ ควรเข้าเทียบกราบ ขวา หันหัวเรือออก ปากร่อง เพราะด้าน ในร่องน้ำจะลึก แต่ ถ้าเทียบกราบซ้าย ควรเทียบให้ท้ายเรือ ห่างจากเบรกกันคลื่น ทางด้านท้ายมาก ที่สุด เนื่องจาก บริเวณนั้นน้ำ ค่อนข้างตื้น

17. ที่หมายเวลากลางคืน มีกระโจมไฟ เกาะมัตโพน (L FI.WR.7s47m16,8M) ทุ่นไฟ ปากร่อง 1 ทุ่น (FI.3s7.2M) มีไฟกำกับร่องน้ำที่ปลายเบรก และมีหลักนำ 1 คู่ (A,B)

18. ข้อควรระมัดระวัง ก่อนที่จะกลับลำเข้าเทียบท่าให้ระมัดระวังเรือประมง ขนาดเล็กและใหญ่ที่สัญจรในร่องน้ำ ลักษณะน้ำขึ้น - น้ำลง ในร่องน้ำข่อนข้างแรง ในขณะนำเรือต้องใช้ความระมัดระวัง เป็นพิเศษ ในการเข้าเทียบท่าเรือควรเข้าเทียบในช่วงเวลา น้ำขึ้นสูงสุด และควรนำเรือเข้าเทียบให้เสร็จสิ้นก่อนเวลาน้ำ ลง ระดับน้ำลงต่ำสุด ประมาณ 1. 2 เมตร ซึ่งเรือจะนั่งแท่น ลักษณะพื้นท้องทะเลเป็นโคลน ในช่วงเวลากลางคืน อาจมี ลมแรงให้ระมัดระวังเรือประมงที่เทียบอยู่ฝั่งตรงข้ามโดย จอดเทียบกันอยู่หลายลำ มักจะมีเรือประมงหลุดจากเทียบ เวรยามต้องระมัดระวังเรือให้ดี และก่อนออกเรือควรทำการ หยั่งน้ำก่อนทุกครั้ง

19. ลักษณะท่าเรือเมื่อน้ำลงต่ำสุด

20. การติดต่อสื่อสาร วิทยุ ไม่มี โทรศัพท์ ประสานกับทัพเรือภาคที่ 1 สิ่งอำนวยความสะดวก การบริการน้ำ ไม่มี การบริการไฟฟ้า ไม่มี มีตลาดและร้านขายของต่าง ๆ ห่างจากท่าเรือ ประมาณ 800 เมตร ความสัมพันธ์กับประชาชนในพื้นที่ : มีความสัมพันธ์ที่ดี

วันพฤหัสบดีที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559